Page 40 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 40

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้เร่ิมต้นขึ้น จึงปรากฏถ้อยคําาใหม่ เช่น “กลุ่มผู้เห็นต่าง” ซ่ึง สะท้อนให้เห็นจากรายงานทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของประเทศไทย (Universal Periodic Review, UPR) ในปี 2554 โดยไม่ปรากฏคําาว่า “Insurgent” ในการอธิบายผู้เห็นต่างจากรัฐ หรือ “Insurgency” เพ่ืออธิบายหรือเรียกแทน สถานการณ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต1้1อันสอดคล้องกับถ้อยแถลงในการกล่าว เปิดการพิจารณารายงาน UPR ของเอกอัครราชทูตและผู้แทนถาวรไทยประจําา สหประชาชาต1ิ2ดังต่อไปนี้
“ประเทศไทยกําาลังเผชิญกับความท้าทายเกี่ยวกับ สถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (the situation in the Southern Border Provinces) ซ่ึงไม่ใช่การขัดกันทางอาวุธ แต่ เปน็ สถานการณค์ วามรนุ แรงทย่ี ดื เยอื้ เรอื้ รงั ซงึ่ จาํา เปน็ ตอ้ งหยบิ ยก ปัญหารากเหง้าข้ึนมาพิจารณา ภูมิภาคชายแดนใต้ ซึ่งมีผู้คนท่ีมี อัตลักษณ์เฉพาะ “ไทยมลายูมุสลิม” (Thai Malay Muslim) แห่งน้ีได้ถูกคุกคามจากผู้ก่อเหตุรุนแรง (Perpetrators of Violence) ซ่ึงได้ใช้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมอ้างความ ชอบธรรมใหก้ บั การใชค้ วามรนุ แรงเพอื่ มงุ่ สเู่ ปา้ หมายของพวกเขา”
11 UnitedNations,“NationalReportSubmittedinAccordancewithParagraph15(a) of the Annex to Human Rights Council Resolution 5/1, Thailand,” Human Rights Documents, 19 July 2011 อา้ งถงึ ใน รอมฎอน “การเมอื งของถอ้ ยคาํา ในชายแดนใต/้ ปาตาน:ี การประกอบสร้าง ‘สันติภาพ’ ในความขัดแย้งชาติพันธุ์การเมือง,” 149.
12 SihasakPhuangketkeow,“OpeningStatementbyH.E.Mr.SihasakPhuangketkeow, Ambassador and Permanent Representative of Thailand and Special Envoy of the Royal Thai Government at the Universal Periodic Review of Thailand, 12th Session of the UPR Working Group of the Human Rights Council,” Ministry of Foreign Affairs, 5 October 2011 อ้างถึงใน รอมฎอน “การเมืองของถ้อยคําาในชายแดนใต้/ ปาตานี: การประกอบสร้าง ‘สันติภาพ’ ในความขัดแย้งชาติพันธุ์การเมือง,” 149.
 30





























































































   38   39   40   41   42