Page 66 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 66

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
1. นายอับดูร์ระฮ์มัน วาฮิด ซ่ึงดําารงตําาแหน่งระหว่างปี 2542-2545
2. นางเมกาวาตี ซูการ์โนบุตรี ซ่ึงดําารงตําาแหน่งระหว่างปี 2545-2547
3. พลเอก (เกษียณ) ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน ซ่ึงดําารงตําาแหน่งระหว่างปี
2547-2557
HDC ทาํา หนา้ ทเี่ ปน็ ตวั กลางในการเจรจา 2 ครงั้ แรก ซงึ่ ไมป่ ระสบความสาํา เรจ็
ในการบรรลุข้อตกลงทางสันติภาพ กระบวนการสันติภาพในช่วงเวลาน้ันประสบกับ ปัญหาหลายประการด้วยกัน หนึ่งในปัญหาสําาคัญ คือ การที่สถานการณ์ยังไม่ถึงจุด สุกงอม (Ripe Moment) หรือถึงจุดอิ่มตัว ทําาให้ทั้งสองฝ่ายยังไม่พร้อมที่จะ ประนีประนอมเพราะต่างคิดว่าสามารถเอาชนะอีกฝ่ายหน่ึงได้ด้วยกําาลังทหาร หลัง จากติมอร์ตะวันออกได้รับเอกราชในปี 2542 กลุ่ม GAM มีความเชื่อว่า การตั้งรัฐชาติ อาเจะห์เป็นเร่ืองที่ไม่ไกลเกินเอ้ือม ดังที่สะท้อนออกมาในวลีท่ีพูดกันอย่างกว้างขวาง วา่ เสน้ ทางในการไดเ้ อกราชเทา่ กบั “ระยะเวลาในการสบู บหุ รมี่ วนเดยี ว” (Sebatang Rokok Lagi)6 ในแง่นี้ ฝ่ายการเมืองและกองทัพของอินโดนีเซียจึงต่างมีเหตุผลที่จะ ต่อต้านกระบวนการสันติภาพ และมีการออกส่ือเพ่ือโจมตีกระบวนการสันติภาพเป็น ระยะๆ นอกจากนี้ บริบทภายในประเทศก็ยังไม่ได้เอื้ออําานวยต่อการเจรจาสันติภาพ สืบเน่ืองจากการท่ีประเทศอินโดนีเซียประสบปัญหาระดับชาติหลายประการ อาทิ ปญั หาทางเศรษฐกจิ สบื เนอื่ งจากวกิ ฤตเศรษฐกจิ เอเชยี และการปฏริ ปู ทางการเมอื งท่ี มุ่งเปล่ียนแปลงโครงสร้างการเมืองจากการเป็นเผด็จการมาเป็นระบบประชาธิปไตย เปน็ ตน้ ปรากฏการณเ์ หลา่ นมี้ ผี ลกระทบโดยตรงตอ่ คนทง้ั ชาตแิ ละเปน็ เรอื่ งเรง่ ดว่ นใน ช่วงเวลาน้ัน ซ่ึงส่งผลทําาให้ปัญหาในอาเจะห์ได้รับความสําาคัญรองลงมา
ต่อมาในการเจรจาครั้งท่ี 3 ท่ีเกิดขึ้นภายใต้รัฐบาลพลเอก ซูซิโล บัมบัง ยโู ดโยโน มอี งคก์ รพฒั นาเอกชนทม่ี ชี อ่ื วา่ Crisis Management Initiative (CMI) เปน็ ตัวกลางในการเจรจาจนประสบความสําาเร็จและเกิดข้อตกลงทางสันติภาพร่วมกัน
6 Edward Aspinall, The Helsinki Agreement: A More Promising Basis for Peace in Aceh? (Washington DC: East-West Center, 2005), 9.
 56

























































































   64   65   66   67   68