Page 67 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 67

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
โดยปัจจัยแห่งความสําาเร็จในคร้ังน้ี ได้แก่ รัฐบาลที่เข้มแข็ง เสถียรภาพทางการเมือง ตัวกลางที่เข้มแข็ง รวมท้ังข้อเสนอของการปกครองตนเอง (Self-Government)
กระบวนการสันติภาพอาเจะห์ใช้ระยะเวลาราว 6 ปี กว่าท่ีฝ่ายรัฐบาลและ กลมุ่ GAM จะลงนามในขอ้ ตกลงทางสนั ตภิ าพ ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ ระยะเวลาทไี่ มน่ านนกั เมอื่ เทียบกับกระบวนการสันติภาพอื่นๆ ในโลก แต่สิ่งที่สําาคัญและมีคุณค่าต่อการศึกษา คือ ทัศนคติเชิงบวกของผู้นําาอินโดนีเซียที่มีต่อการมีส่วนร่วมของฝ่ายที่สามใน กระบวนการสันติภาพ รวมทั้งวิธีต่างๆ ในการรักษาอําานาจรัฐจากการแทรกแซงของ ฝ่ายที่สาม
การสนับสนุนของฝ่ายท่ีสามในรูปแบบต่างๆ ในกระบวนการสันติภาพ สามารถสรุปได้ในตารางด้านล่าง
ตาราง 3.1 บทบาทของตัวแสดงภายนอกในการสนับสนุนกระบวนการสันติภาพ ในอาเจะห์
 รัฐบาล
  ตัวกลาง ในการ ไกล่เกลี่ย
  หน่วยงานอื่นๆ เพื่อสนับสนุน การรักษาสันติภาพ
  ผลของการเจรจา
  รัฐบาล นายอับดูร์- ระฮ์มัน วาฮิด (2543-2545)
   HDC
 Joint Forum ประกอบด้วย ตัวแทนจากฝ่ายรัฐบาล กลุ่ม GAM และ HDC
   Joint Understanding on Humanitarian Pause for Aceh, 2000
  57





















































































   65   66   67   68   69