Page 65 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 65
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
บัมบัง ยูโดโยโน นายยูซุฟ คัลลา ได้ติดต่อ GAM เพ่ือเริ่มกระบวนการเจรจาอีกคร้ัง หน่ึง ซึ่งในท่ีสุดได้นําามาสู่ข้อตกลงเฮงซิงกิ ปี 2548
อดีตประธานาธิบดีพลเอก (เกษียณ) ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน (Susilo Bambang Yudhoyono, SBY) ซงึ่ เคยดาํา รงตาํา แหนง่ เปน็ ทปี่ รกึ ษาทางดา้ นการแกไ้ ข ความขัดแย้งในอาเจะห์มาต้ังแต่สมัยรัฐบาลนายฮาบีบี (ปี 2541-2542) รัฐบาลนาย อับดูร์ระฮ์มัน วาฮิด (ปี 2542-2545) และต่อมาภายใต้รัฐบาลนางเมกาวาตี ซูการ์โน บุตรี (ปี 2545-2547) จนกระทั่งได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีเองในปี 2547 จนถึง 2557 พลเอก ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน เป็นนายพลสายปฏิรูป และถูกขนานนามว่าเป็น “นายพลนักคิด” (the Thinking General)5 นอกจากน้ี พลเอก ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน เป็นผู้นําาทางการเมืองระดับสูงคนแรกๆ ท่ีเสนอให้ประธานาธิบดี นายบาคา รุดดิน ยูซุฟ ฮาบีบี แก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยวิธีอื่นๆ นอกเหนือจากการใช้วิธีทาง ทหาร ซงึ่ เวลาตอ่ มาในขณะทดี่ าํา รงตาํา แหนง่ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงประสานงานการ เมืองและความม่ันคง (Coordinating Minister for Politics and Security Affairs) พลเอก ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน มีบทบาทในการสนับสนุนการเจรจากับกลุ่ม GAM เป็นคร้ังแรกในสมัยรัฐบาลนายอับดูร์ระฮ์มัน วาฮิด ในปี 2543 และในสมัยรัฐบาล นางเมกาวาตี ซูการ์โนบุตรี ฉะน้ัน พลเอก ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน จึงเป็นผู้ที่มีความรู้ เกยี่ วกบั พลวตั ความขดั แยง้ ในอาเจะหม์ าโดยตลอด จงึ ไมน่ า่ แปลกวา่ เพราะเหตใุ ดพล เอก ซซู โิ ล บมั บงั ยโู ดโยโน จงึ เปน็ บคุ คลทม่ี คี วามสาํา คญั ตอ่ การผลกั ดนั ใหก้ ระบวนการ สันติภาพในอาเจะห์ประสบผลสําาเร็จ
กระบวนการสันติภาพและการมีส่วนร่วมของฝ่ายท่ีสามในกระบวนการ สันติภาพในอาเจะห์
โต๊ะอาเจะห์มีส่วนสําาคัญในการส่งเสริมการเจรจาทางสันติภาพเพื่อแก้ไข ความขัดแย้งในอาเจะห์ ซ่ึงดําาเนินการภายใต้ประธานาธิบดี 3 คน ได้แก่
5 Aris Ananta, Evi Nurvidya Arifin and Leo Suryadinata, Emerging Democracy in Indonesia, (Singapore: Institute of Southeast Asian Studies, 2005), 112.
55