Page 71 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 71
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
อาเจะหเ์ ปน็ ความขดั แยง้ (Conflict) เนอื่ งดว้ ยสภาพปญั หาทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ผเู้ สยี ชวี ติ อยา่ ง ตอ่ เนอื่ ง อกี ทงั้ ยงั มกี ารกลา่ วถงึ กลมุ่ GAM อยา่ งเปดิ เผย การแสดงออกเชน่ นสี้ ามารถ เห็นได้อย่างชัดเจนจากการสัมภาษณ์ออกสื่อของผู้นําา ตลอดจนการทําาบันทึกความ เขา้ใจทลี่งนามรว่มกนั ณกรงุเฮลซงิกิในปี2548(MemorandumofUnderstand- ing, MoU)9 อันมีผลทําาให้ยุติความขัดแย้งในอาเจะห์ ท้ังน้ีอาจมีเพียงสมัยรัฐบาลนาง เมกาวาตี ซูการ์โนบุตรี เท่าน้ัน ที่มีความพยายามนิยามปัญหาอาเจะห์ว่าเป็นปัญหา การก่อการร้าย เพ่ือผลักดันให้กลุ่ม GAM ข้ึนบัญชีรายชื่อกลุ่มก่อการร้าย สากล10 ซ่ึงความพยายามของรัฐบาลนางเมกาวาตี ซูการ์โนบุตรี ตรงกับช่วงเวลาท่ี ประเทศตะวันตกมีความหวาดกลัวต่อโอกาสในการก่อเหตุของกลุ่มอัลกออิดะฮ์ (Al Qaeda) หลังเหตุการณ์ 11 กันยายน
นอกจากน้ี จะเหน็ ไดว้ า่ เอกสารทมี่ กี ารลงนามระหวา่ งทงั้ 2 ฝา่ ย ซงึ่ มที งั้ หมด 3 ฉบับ ได้แก่ ข้อตกลงเพื่อยุติความขัดแย้งช่ัวคราว 2 ฉบับ (Joint Understanding on Humanitarian Pause for Aceh, 200011 และ Cessation of Hostilities Framework Agreement between the Government of the Republic of Indonesia and the Free Aceh Movement, 2002)12 และข้อตกลงเฮลซิงกิ
9 The Aceh Peace Process Follow-Up Project, “Memorandum of Understanding between the Government of the Republic of Indonesia and the Free Aceh Move- ment,” http://www.acehpeaceprocess.net/pdf/mou_final.pdf
10 AntjeMissbach,“Review:MichelleAnnMiller:RebellionandReforminIndonesia – Jakarta’s Security and Autonomy Policies in Aceh,” Journal of Current Southeast Asian Affairs, 28, no. 4, (2009): 149.
11 JointUnderstandingonHumanitarianPauseforAceh,12May2000,https://www. peaceagreements.org/viewmasterdocument/113
12 The University of Edinburgh, “Cessation of Hostilities Framework Agreement between the Government of the Republic of Indonesia and the Free Aceh Move- ment,” 9 December 2002, https://www.peaceagreements.org/view/325
61