Page 73 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 73

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ฝ่ายการเมืองส่วนใหญ่จึงได้ให้การสนับสนุนในข้ันตอนต่างๆ ของกระบวนการ สันติภาพในอาเจะห์ ตั้งแต่รัฐบาลนายอับดูร์ระฮ์มัน วาฮิด จนถึงรัฐบาลพลเอก ซูซิโล บัมบัง ยูโดโยโน15 ดังที่นายฮามิด อาวาลุดดิน (Hamid Awaluddin) รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน และผู้แทนของรัฐบาลอินโดนีเซียในการเจรจา กับกลุ่ม GAM แสดงความเห็นว่า “การได้รับการสนับสนุนจากนานาชาติเป็นกุญแจ สําาคัญในการผลักดัน [การเจรจา] จนประสบความสําาเร็จ”16
จากประสบการณข์ องการแกป้ ญั หาความขดั แยง้ ในอาเจะห์ ฝา่ ยทสี่ ามอาจ จะเขา้ มามบี ทบาทในการสง่ เสรมิ กระบวนการสนั ตภิ าพไดจ้ ากการทรี่ ฐั บาลอนิ โดนเี ซยี เปน็ ผตู้ ดิ ตอ่ ฝา่ ยทสี่ ามกอ่ น หรอื จากการทฝี่ า่ ยทสี่ ามมกี ารประสานกบั ฝา่ ยรฐั บาลเพอ่ื เสนอหาทางในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในอาเจะห์ สําาหรับรัฐบาลอินโดนีเซียนั้น ฝ่ายไหนจะเป็นฝ่ายริเร่ิมก่อนไม่ได้เป็นเร่ืองสําาคัญ แต่สําาคัญตรงที่ฝ่ายท่ีสามจะต้อง ยอมรับว่า อาเจะห์เป็นปัญหาภายในของประเทศอินโดนีเซีย ซ่ึงกระทรวงการ ต่างประเทศของอินโดนีเซียมีส่วนสําาคัญในการตอกยํา้าถึงประเด็นนี้
การท่ีฝ่ายผู้นําาทางการเมืองอินโดนีเซียมีการติดต่อประสานงานเพ่ือขอรับ การสนับสนุนจากฝ่ายที่สาม สะท้อนให้เห็นได้จากตัวอย่างของการท่ีนายฮามิด อาวา- ลุดดิน ได้เล่าถึงเหตุการณ์ท่ีรองประธานาธิบดีนายยูซุฟ เคลลา เชิญเอกอัครราชทูต จากประเทศตา่ งๆ เชน่ สหรฐั ฯ สหราชอาณาจกั ร สวเี ดน ฟนิ แลนด์ ญปี่ นุ่ ออสเตรเลยี และสิงคโปร์ เพ่ือขอให้สนับสนุนกระบวนการสันติภาพ รวมท้ังขอให้รัฐบาลเหล่าน้ี กดดัน “รัฐบาลพลัดถ่ิน” ของกลุ่ม GAM ที่อาศัยอยู่ท่ีประเทศสวีเดนให้มาร่วมเจรจา กับรัฐบาลอินโดนีเซีย17 ในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน รัฐบาลศรีลังกาเคยร้องขอการ สนบั สนนุ จากนานาประเทศเพอื่ กดดนั กลมุ่ พยคั ฆท์ มฬิ (Tamil Tigers) ซง่ึ มกี ารละเมดิ
15 สัมภาษณ์นายยูซุฟ เคลลา ผ่านระบบ Zoom เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
16 Hamid Awaluddin, “Why is peace in Aceh successful?” in Accord an interna- tional review of peace initiatives 20, 2008, eds. Aguswandi and Judith Large, https://rc-services-assets.s3.eu-west-1.amazonaws.com/s3fs-public/Reconfigur-
ing_politics_the_Indonesia_Aceh_peace_process_Accord_Issue_20.pdf, 26. 17 Ibid.
 63



























































































   71   72   73   74   75