Page 75 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 75

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
นโยบายเพ่ือแก้ไขความขัดแย้ง รัฐบาลอินโดนีเซียจึงรับมือกับปัญหาในอาเจะห์ ในลกั ษณะเชงิ รกุ โดยใชเ้ ครอื่ งมอื ทางทตู เพอื่ แสวงหาแรงสนบั สนนุ จากนานาชาติ และ ปอ้ งกนั มใิ หต้ วั แสดงจากภายนอกใหก้ ารสนบั สนนุ แกก่ ลมุ่ GAM ซงึ่ ผจู้ ดั ทาํา เหน็ วา่ เปน็ ประเด็นท่ีมีความสําาคัญมาก เพราะจะทําาให้รัฐบาลสามารถเข้าไปกําากับดูแลได้ว่า ผู้มี ส่วนเก่ียวคือใคร ตลอดจนมีขอบเขตหน้าท่ีแค่ไหน และมีกรอบเวลาในการทําาหน้าที่ ยาวนานเพียงใด ประเด็นเหล่านี้จะถูกกําาหนดโดยรัฐบาลอินโดนีเซียและรับรองใน เอกสารอยา่ งชดั เจน20 เพอื่ ปอ้ งกนั การลว่ งลาํา้ อาํา นาจหนา้ ทรี่ ะหวา่ งฝา่ ยตา่ งๆ แมว้ า่ จะ เป็นฝ่ายตัวกลางในการไกล่เกล่ีย ฝ่ายผู้สังเกตการณ์ และฝ่ายท่ีปรึกษาท่ีเป็นตัวแสดง ภายนอก รวมทั้งการป้องกันการดําาเนินการของฝ่ายที่สามที่อาจจะล่วงลํา้าต่ออําานาจ อธิปไตยของรัฐ
แนวทางในการรับมือกับฝ่ายต่างๆ ที่ไม่เห็นด้วยกับกระบวนการ สันติภาพ (Spoilers of Peace)
แม้ว่าการเจรจาทางสันติภาพเพื่อยุติความขัดแย้งในอาเจะห์จะได้รับการ สนบั สนนุ จากระดบั ประธานาธบิ ดี แตอ่ าจจะมฝี า่ ยตา่ งๆ ภายในประเทศทไี่ มเ่ หน็ ดว้ ย กับกระบวนการท้ังหมดด้วยเหตุผลหลักๆ 3 ประการ ได้แก่ 1) ความกลัวต่อการ ถูกแทรกแซงจากตัวแสดงระหว่างประเทศ 2) ความไม่ต้องการยกระดับกลุ่ม GAM เป็นคู่เจรจาของรัฐบาลอินโดนีเซีย เนื่องจากเป็นกลุ่มที่กระทําาผิดกฎหมายภายใน ประเทศ และ 3) ความกลัวว่าจะเกิด “การเสียดินแดน” เช่นเดียวกับเม่ือประเทศ อินโดนีเซียเสียติมอร์ตะวันออกในปี 2542 ด้วยเหตุนี้ ฝ่ายท่ีสนับสนุนการเจรจาทาง สนั ตภิ าพจงึ มแี นวทางเพอื่ ลดแรงตา้ นทานตอ่ กระบวนการสนั ตภิ าพหลายประการ ดงั น้ี
ประการที่หนึ่ง การเชิญองค์กรพัฒนาเอกชนเข้ามาสวมบทบาทเป็น ตัวกลางในการเจรจาแทนตัวแสดงที่เป็นรัฐ เน่ืองจากมีบางฝ่ายท่ีเห็นว่า การ
20 โปรดดูข้อตกลง Joint Understanding on Humanitarian Pause for Aceh; the Memorandum of Understanding between the Government of the Republic of Indonesia and the Free Aceh Movement.
 65




























































































   73   74   75   76   77