Page 76 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 76

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
ไกลเ่ กลยี่ ความขดั แยง้ โดยรฐั บาลอนื่ จะมผี ลทาํา ใหก้ ระบวนการสนั ตภิ าพกลายเปน็ เรอื่ ง ระหว่างประเทศโดยทันที และอําานาจรัฐในการควบคุมปัญหาจะน้อยลง21 ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลอินโดนีเซียในช่วงเวลาต่างๆ จึงเปิดโอกาสให้ HDC และ CMI มารับบทบาทใน การเป็นตัวกลางในการเจรจา
ประการที่สอง หัวหน้าฝ่ายเจรจาของรัฐบาลอินโดนีเซียจะต้องไม่เป็น นักการทูต โดยเน้นยํา้าว่า ความคิดเช่นนี้เป็นแนวทางปฏิบัติของรัฐบาลพลเอก ซูซีโล บมั บงั ยโู ดโยโน ซงึ่ มคี วามเหน็ วา่ ถา้ นกั การทตู ทาํา หนา้ ทเี่ ปน็ ตวั แทนของรฐั บาลในการ เจรจาจะทําาให้เกิดภาพลักษณ์ว่า ปัญหาอาเจะห์เป็นปัญหาระหว่างประเทศโดยทันที ด้วยเหตุน้ี การเจรจาในสมัยรัฐบาลพลเอก ซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน จึงขอให้นายฮามิด อาวาลุดดิน ซึ่งดําารงตําาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมและสิทธิมนุษยชนเข้า มารับหน้าท่ีหัวหน้าฝ่ายเจรจา ท้ังน้ี การคัดเลือกผู้แทนฝ่ายรัฐบาลในสมัยรัฐบาลของ พลเอก ซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน มีความแตกต่างจากรัฐบาลชุดก่อนๆ (รัฐบาล นายอับดูร์ระฮ์มัน วาฮิด และรัฐบาลนางเมกาวาตี ซูการ์โนบุตรี) ซึ่งมีการคัดเลือก ตวั แทนฝา่ ยรฐั บาลในการเจรจาทเี่ ปน็ นกั การทตู สาํา หรบั รฐั บาลของนายอบั ดรู ร์ ะฮม์ นั วาฮดิ ไดค้ ดั เลอื กนายฮสั ซนั วริ ายดู า สว่ นในสมยั รฐั บาลของนางเมกาวาตี ซกู ารโ์ นบตุ รี ได้มอบหมายให้นายวิโยโน ซัสโตรฮันโดโย (Wiryono Sastrohandoyo) อดีต นักการทูตเป็นหัวหน้าฝ่ายเจรจาของรัฐบาลอินโดนีเซีย
ประการท่ีสาม การเจรจาแบบลับ (Secret Negotiations) ใน ตา่ งประเทศมสี ว่ นสาํา คญั ในการปกปอ้ งกระบวนการสนั ตภิ าพจากการโจมตที างการ เมือง โดยเฉพาะจากฝ่ายต่างๆ ที่ไม่เห็นด้วยกับกระบวนการสันติภาพ ไม่ว่าจะเป็น กองทัพ กลุ่มผลประโยชน์ท้องถ่ิน ส่ือ และนักการเมืองที่ไม่ต้องการเห็นความสงบใน พื้นท่ี นอกจากนี้ การเจรจาแบบลับยังช่วยป้องกันปัญหาของการเสียหน้าในกรณีที่ การพูดคุยไม่ประสบความสําาเร็จ ซ่ึงอาจจะก่อให้เกิดผลลบทางการเมืองสําาหรับท้ัง 2
21 สัมภาษณ์ ยูซุฟ เคลลา เม่ือวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
 66





























































































   74   75   76   77   78