Page 77 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 77
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ฝา่ ยได2้ 2 ทง้ั นี้ เมอื่ พจิ ารณาตามขอ้ เทจ็ จรงิ จะเหน็ ไดว้ า่ การเจรจาหรอื การพดู คยุ แบบ ลับมิใช่เรื่องแปลก กระบวนการเจรจาสันติภาพในหลายพ้ืนที่ความขัดแย้ง อาทิ แอฟริกาใต้ และไอร์แลนด์เหนือ ก็ล้วนดําาเนินการเจรจาแบบลับ ซึ่งมีข้อดีหลาย ประการ เชน่ ลดความเปน็ ทางการ ทอี่ าจสง่ ผลดตี อ่ การลดความตงึ เครยี ดระหวา่ งฝา่ ย ต่างๆ ได้
รัฐบาลอินโดนเีซยีได้เรยีนรถู้ึงความสาําคญัของการเจรจาแบบลับภายหลงัที่ ประธานาธิบดีนายอับดูร์ระฮ์มัน วาฮิด ได้ส่งตัวแทนไปพูดคุยกับตวนกูฮาซัน ดี ทีโร ในปลายปี 2542 เพ่ือหาลู่ทางในการเร่ิมกระบวนการสันติภาพ แต่หลังจากท่ี ประธานาธบิ ดวี าฮดิ ไดเ้ ปดิ เผยเรอื่ งนกี้ บั ผสู้ อื่ ขา่ วชาวสงิ คโปร์ ฝา่ ยการเมอื งตา่ งๆ ไดม้ ี ปฏิกิริยาเชิงลบ ส่งผลให้ ตวนกูฮาซัน ดี ทีโร เองปฏิเสธท่ีจะพูดคุยกับฝ่ายรัฐบาลต่อ ด้วยเหตุน้ี รัฐบาลอินโดนีเซียจึงเล็งเห็นความสําาคัญของการพูดคุยแบบลับในระยะ เบอื้ งตน้ กอ่ น ซงึ่ เหน็ ไดจ้ ากในสมยั รฐั บาลของนายอบั ดรู ร์ ะฮม์ นั วาฮดิ ไดม้ กี ารเจรจา ที่กรุงเจนีวาและเมืองบาวัวส์ประเทศสวิตเซอร์แลนด2์3และในสมัยรัฐบาลของนาง เมกาวาตี ซูการ์โนบุตรี ได้มีการเจรจาท่ีกรุงเจนีวา และกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น แตพ่ อถงึ สมยั ประธานาธบิ ดพี ลเอก ซซู โี ล บมั บงั ยโู ดโยโน รฐั บาลไดม้ กี ารเจรจาทกี่ รงุ เฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์
จากข้อมูลท่ีได้กล่าวมาข้างต้นพบว่า ปัจจัยท่ีผลักดันให้ริเร่ิมกระบวนการ สนั ตภิ าพดว้ ยการเจรจามาจากการปฏริ ปู ทางการเมอื งใหเ้ ปน็ ประชาธปิ ไตย ทาํา ใหผ้ มู้ ี อาํา นาจตดั สนิ ใจเปดิ รบั บทบาทของฝา่ ยทสี่ ามในกระบวนการสนั ตภิ าพ นอกจากน้ี การ ปฏริ ปู ทางการเมอื งยงั สง่ ผลใหม้ กี ารเสนอการตงั้ เขตปกครองตนเองในฐานะเปน็ เครอ่ื ง มือในการแก้ไขความขัดแย้ง และมีการตั้งคณะทําางานท่ีเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า “โตะ๊ อาเจะห”์ เพอื่ ดแู ลเรอื่ งนโี้ ดยเฉพาะ ทงั้ นี้ การเปดิ รบั ใหฝ้ า่ ยทสี่ ามมบี ทบาทหนา้ ที่ ในชว่ งตา่ งๆ ของกระบวนการสนั ตภิ าพไมถ่ กู มองวา่ เปน็ การยกระดบั ปญั หาไปสสู่ ากล
22 สัมภาษณ์ ยูซุฟ เคลลา เมื่อวันท่ี 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563
23 Tempo, “Hassan Wirajuda: ‘In Talks with GAM, Content, Not Labels, is
Important’”
67