Page 78 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 78

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
และ/หรือการแทรกแซงอําานาจอธิปไตย เพราะ 1) กระทรวงการต่างประเทศมีการใช้ วิธีทางการทูตในการตอกยํา้าว่า ปัญหาอาเจะห์เป็นเรื่องภายในประเทศ 2) ทางการ อินโดนีเซียมีการแก้ปัญหาในลักษณะเชิงรุกและกําาหนดบทบาทของฝ่ายท่ีสามอย่าง ชัดเจน ฝ่ายท่ีสามจึงมีบทบาทในการส่งเสริมนโยบายท่ีรัฐกําาหนด ซ่ึงมีความแตกต่าง จากการแทรกแซงอาํา นาจอธปิ ไตยของรฐั กลา่ วอกี นยั หนง่ึ วา่ ถา้ การยกระดบั ไปสสู่ ากล หมายถงึ การเปดิ ใหต้ วั แสดงภายนอกมสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งในขนั้ ตอนการแกไ้ ขความขดั แยง้ ภายใน ทางรัฐบาลอินโดนีเซียมีทัศนคติในเชิงบวกต่อบทบาทเหล่านี้ เพราะเป็นการ ส่งเสริมศักยภาพของรัฐในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในอาเจะห์
กระบวนการสนั ตภิ าพในมนิ ดาเนามคี วามแตกตา่ งจากกระบวนการสนั ตภิ าพ ในอาเจะหต์ รงทก่ี ารมสี ว่ นรว่ มของฝา่ ยทสี่ ามไมไ่ ดม้ าจากการรเิ รมิ่ ของฝา่ ยรฐั บาล แต่ เป็นผลจากความพยายามของ Moro National Liberation Front (MNLF) ในการ ยกระดับปัญหาไปสู่สากล โดยหาการสนับสนุนจากประเทศลิเบียและรัฐซาบาร์ ประเทศมาเลเซีย จากน้ันรัฐบาลฟิลิปปินส์จึงต้องใช้วิธีทางการทูตเพ่ือ “พลิกเกม” และรักษาอําานาจรัฐเหนือปัญหาในมินดาเนา ซ่ึงจะกล่าวถึงในรายละเอียดในส่วน ต่อไป
กรณีศึกษาที่ 2: ประสบการณข์ องการเจรจาทางสนั ตภิ าพเพอื่ ยตุ คิ วาม ขัดแย้งในมินดาเนา
ลักษณะของปัญหาและความเป็นมาของการเจรจาสันติภาพเพ่ือยุติความ ขัดแย้งในมินดาเนา
ความขัดแย้งทางอาวุธในมินดาเนาเริ่มในปลายทศวรรษ 2503 แต่มีความ แตกตา่ งจากความขดั แยง้ ในอาเจะหอ์ ยหู่ ลายประการ ประการทหี่ นงึ่ จาํา นวนของกลมุ่ ติดอาวุธในมินดาเนามีจําานวนมาก และมีจุดประสงค์ในการเคล่ือนไหวท่ีแตกต่างกัน ไป เช่น กลุ่มที่มีความพยายามเรียกร้องความเป็นอิสระในระดับที่แตกต่างกัน ได้แก่ MNLF และกลุ่มแนวหน้าปลดปล่อยอิสลามโมโรในมินดาเนา (Moro Islamic Liberation Front, MILF) กลุ่มก่อการร้าย เช่น กลุ่มเมาเต้ (Maute Group) และ
68




























































































   76   77   78   79   80