Page 91 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 91
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ตาราง 3.2 บทบาทของตัวแสดงภายนอกในการสนับสนุนกระบวนการสันติภาพ ในมินดาเนา (ต่อ)
รัฐบาลและคู่เจรจา
ตัวกลางในการ ไกล่เกลี่ย
หน่วยงานอื่นๆ เพื่อสนับสนุน การรักษาสันติภาพ
ผลจากการเจรจา
ปี 2552 ประกอบ ด้วย ญี่ปุ่น สหราช อาณาจกั ร ตรุ กี และ ซาอุดีอาระเบีย รวมทงั้ องคก์ รพฒั นา เอกชนอีก 4 แห่ง ได้แก่ Centre for Humanitarian Dialogue (HDC) มูลนิธิเอเชีย (The Asia Foundation) Conciliation Resources และ มูฮัมมาดียะฮ์ (Muhammadiyah)
ภารกิจ: สังเกต การณก์ ารเจรจาและ ส่งเสริมการสื่อสาร ระหว่างฝ่ายต่างๆ
รฐั บาลของนายเบนกิ อากีโนที่ 3 (2553-2559)
และ MILF
มาเลเซีย
IMT เริ่มทําาการใหม่ ในปี 2553 โดยเพิ่ม การสนับสนุนจาก อินโดนีเซีย
กรอบขอ้ ตกลงบงั ซา โมโร (Framework Agreement on the Bangsamoro) ปี 2555
81