Page 89 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 89

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ขอบเขตของอําานาจในการปกครองของพ้ืนท่ีบังซาโมโร (หรือ Bangsamoro Autonomous Region in Muslim Mindanao, BARMM) ซ่ึงจะมาแทนเงื่อนไข ในการบริหารพ้ืนท่ี ARMM จากนั้นในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 ประธานาธิบดี นายโรดรีโก โรอา ดูแตร์เต ได้แต่งต้ังสมาชิกของ Bangsamoro Transition Authority (BTA) ซึ่งจะทําาหน้าที่เป็นรัฐบาลในช่วงเปล่ียนผ่านจนกระท่ังมีการเลือก ต้ังในปี 2565
การสนับสนุนจากฝ่ายที่สามในรูปแบบต่างๆ ของกระบวนการสันติภาพ สามารถสรุปได้ในตารางด้านล่าง
ตาราง 3.2 บทบาทของตัวแสดงภายนอกในการสนับสนุนกระบวนการสันติภาพ ในมินดาเนา
 รัฐบาลและคู่เจรจา
   ตัวกลางในการ ไกล่เกลี่ย
  หน่วยงานอื่นๆ เพื่อสนับสนุน การรักษาสันติภาพ
  ผลจากการเจรจา
   รัฐบาลของ นายเฟอร์ดินานด์ มาร์กอส (2508-2529) และ MNLF
 OIC (อันได้แก่ลิเบีย ซาอุดีอาระเบีย เซเนกัล และ โซมาเลีย หรือ ที่เรียกว่า OIC Committee of Four)
-
  ข้อตกลงตริโปลี (Tripoli Agree- ment) ปี 2519 แต่ทั้ง 2 ฝ่ายปะทะ อีกรอบในปี 2520
 รัฐบาลของ นางคอราซอน อากีโน (2529-2535) และ MNLF
   OIC
  -
  ข้อตกลงญิดดะห์ (Jeddah Accord) ปี 2530
  79


















































































   87   88   89   90   91