Page 93 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 93
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
และ CAB ซึ่งได้รับรองความชอบธรรมของข้อเรียกร้องต่างๆ ของชาวบังซาโมโร46 ในลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กบั กรณขี องอาเจะห์ บทบาทหนา้ ทขี่ องฝา่ ยทสี่ ามมขี อบเขตและ ระยะเวลาในการทําางานท่ีชัดเจน ซึ่งกําาหนดโดยรัฐบาลฟิลิปปินส์ ดังน้ัน รัฐบาลจึง รกั ษาอาํา นาจในฐานะเจา้ ของปญั หา และปอ้ งกนั ไมใ่ หต้ วั แสดงภายนอกกระทาํา การใดๆ ท่ีเกินขอบเขตหน้าท่ี แต่สิ่งที่น่าสนใจ คือ มีข้อตกลงบางฉบับที่มีการระบุอย่างชัดเจน ถึงการดําาเนินการภายใต้ขอบเขตของกฎหมายทางมนุษยธรรมภายในและระหว่าง ประเทศ เช่น Memorandum of Agreement on the Ancestral Domain (MOA-AD) ปี 2544 ได้มีการระบุถึงปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights, UDHR) และกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ47 ในร่างขอบเขตงาน (Terms of Reference) ของหน่วยในการรับผิดชอบของการ ปกป้องพลเรือน (Civilian Protection Component) ซ่ึงอยู่ภายใต้การทําางานของ IMT โดยได้มีการระบุถึงประเด็นเหล่านี้ในมาตรา 5 (Article V)48 อย่างไรก็ตาม การ ลงนามในเอกสารทั้ง 2 ฉบับไม่มีผลให้ตัวแสดงภายนอกเข้ามาละเมิดอําานาจอธิปไตย ของประเทศฟิลิปปินส์ เพราะโครงสร้างระหว่างประเทศยังให้ความสําาคัญกับอําานาจ อธิปไตยรัฐ
ในบทสัมภาษณ์ของนาง Miriam Coronel-Ferrer หัวหน้าการเจรจาของ ฝ่ายรัฐบาลฟิลิปปินส์ในช่วงปี 2553-2557 ซึ่งมีส่วนผลักดันข้อตกลง CAB ปี 2557
46 UnitedNations,“The2014ComprehensiveAgreementonBangsamoro(CAB),” https://peacemaker.un.org/sites/peacemaker.un.org/files/PH_140327_Compre- hensiveAgreementBangsamoro.pdf
47 United Nations, “Memorandum of Agreement on the Ancestral Domain Aspect of the GRP-MILF Tripoli Agreement on Peace of 2001,” https://peacemaker.un- .org/sites/peacemaker.un.org/files/PH_080805_Memorandum%20on%20the%20 ancestral%20domains.pdf
48 The University of Edinburgh, “Terms of Reference for the Civilian Protection Component (CPC) of the International Monitoring Team,” 9 December 2009, https://www.peaceagreements.org/viewmasterdocument/738
83