Page 54 - ธรรมะบรรยาย1525
P. 54

ยังไม่เกิดขึ้น ก็ช่วยปัดเป่าไว้ไม่ให้เกิดขึ้น แต่ในกรณีนี้ถ้าผู้สวดและผู้ฟังปฏิบัติไม่ถูกต้องตามวิถีก็ไม่

               ส าเร็จ เหมือนยารักษาโรค ผู้ใช้ต้องใช้ให้ถูกต้องจึงจะหาย ถ้าใช้ไม่ถูกวิธีโรคก็จะไม่หาย

                     เพราะฉะนั้น ผู้สวดและผู้ฟังพระปริตรควรจะทราบวิธีปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ ๑) รู้ความหมายของ

                                                            ิ
               บทสวดและสวดให้ถูกอักขระ ๒) สวดให้ครบบรบูรณ์ ไม่ท าพยัญชนะให้ขาดตกบกพร่อง ๓) ตั้งใจ
               สวดด้วยจิตเมตตา ปรารถนาดีจะให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง อันนี้คือ องค์ ๓ ของผู้สวด ส่วนองค์ ๓

               ของผู้ฟังก็คือ  ๑)  ไม่เคยท าบาปกรรมหนักคือ  อนันตริยกรรม  ได้แก่  ฆ่าบิดา  ฆ่ามารดา  ฆ่าพระ

               อรหันต์ ท าลายพระพุทธเจ้าจนห้อพระโลหิต ยุยงพระสงฆ์ให้แตกความสามัคคีกัน ๒) มิใช่บุคคลท      ี่

               มีความเห็นผิดว่ากรรมและผลของกรรมไม่มี ๓) มีความเชื่อมั่น มีความเลื่อมใสในอานุภาพของพระ

               ปริตร  อันนี้คือพระพุทธเจ้าได้แนะน าพระสงฆ์และอุบาสก  อุบาสิกา  สวดอภยปริตหรือพระปริตร

               ต่าง ๆ เพื่อป้องกันคุ้มครองภูติผีปีศาจ ดังที่กล่าวไปแล้ว

                     หลวงปู่มั่นก็พูดว่า  การสวดมนต์นี้ถ้าสวดออกเสียงพอฟังได้  อานุภาพแผ่ไปได้แสนจักรวาล

                                                                                                      ี
               ถ้าสวดมนต์เช้าเย็นธรรมดาธรรมดา  มีอานุภาพแผ่ไปได้แสนโกฏิจักรวาล  ถ้าสวดเต็มเสยงมี
               อานุภาพแผ่ไปได้ตลอดอนันตจักรวาล แม้สัตว์ที่อาศัยอยู่ใน ๓ ภพและที่สุดอเวจีมหานรก ยังได้รับ

               ความสุข เมื่อแว่วเสียงพระพุทธมนต์ผ่านลงไปแม้ชั่วขณะหนึ่งหรือครู่หนึ่งยังดีกว่าหาความสุขไม่ได้

                                                               ิ
               เลย นี้คือหลวงปู่มั่นพูดอย่างนั้น บัดนี้ได้เวลาแล้ว เชญทุกท่านกราบพระรัตนตรัยพร้อมกัน






                 ๐๑๘                                              ธรรมะบรรยาย

                                                                  ท่านเจ้าคุณ พระราชปัญญาวชิโรดม
               ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๔




                                                                                     ั
                     ท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระญาณวชิโรดม (พระอาจารย์หลวงพ่อวิริยงค์ สิรินฺธโร) กล่าวว่า
               ความสุขมีอยู่ ๒ อย่าง ๑) ความสุขเกิดจากได้วัตถุสิ่งของหรือเกิดจากความสมหวัง เกิดจากความ

                                       ั
               สมหวังคือตัวไปอิงอาศัยวตถุสิ่งของ ได้เงิน ได้สามี ได้ภรรยา ได้ลูก ได้พ่อ ได้แม่ ได้เพื่อน ได้ธรรมะ
               ได้ต าแหน่ง ได้ยศฐาบรรดาศักดิ์ ได้สรรเสริญ สิ่งเหล่านี้เรียกว่าอาศัยวัตถุสิ่งของ อิงสิ่งอื่น จึงจะท า


               ให้เกิดความสุข ๒) ความสุขอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า ความสุขที่ทาจิตให้ปล่อยวาง รู้จักปลงเสยบ้าง
                                                                                                     ี
               ปล่อยวาง ไม่ต้องยึดติดอะไร ท าจิตให้ว่างโล่ง ๆ หายใจเข้าก็รู้ หายใจออกก็รู้ หลวงพ่อว่าอย่างนั้น



                                                           ๕๔
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59