Page 56 - ธรรมะบรรยาย1525
P. 56
ธรรมะบรรยาย
๐๑๙
ท่านเจ้าคุณ พระราชปัญญาวชิโรดม
๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔
่
เจริญพรทุก ๆ ทาน วันนี้ก็เช่นเคย ทางคณะสงฆ์วัดเทพเจติยาจารย์และอุบาสก อุบาสิกาของ
ุ
่
วัดเทพ ได้เชิญทุกทานเข้าร่วมสวดรัตนปริตร เพราะการสวดรัตนปริตรนี้ เราต้องอาศัยจิตบริสทธิ์
และก็ต้องชวนเชิญกันสวดเยอะ ๆ เพื่อจะได้เกิดพลังบวกมาก ๆ เราสวดกันอยู่ที่นี้มีคนเป็นร้อยเป็น
พันถือว่าเป็นปรากฏการณ์อันยิ่งใหญ่ ถ้าหากว่าเราเชิญชวนคนมาสวดได้ถือว่าเป็นบุญของเรา
ในขณะที่เราสวดนั้น จิตของเราจะตั้งมั่นในบทสวดเป็นสมาธิก็ผลิตพลังจิต เมื่อผลิตพลังจิต พลังจิต
ฝ่ายบวกยิ่งเยอะเท่าไรยิ่งดี เราเปรียบเทียบไม่ได้กับสมัยพระพุทธเจ้า เพราะว่าพระพุทธเจ้าเป็น
ศาสดาเอกของโลก แล้วเหล่าพระอรหันต์ ๕๐๐ รูปก็ไม่ใช่ธรรมดา พลานุภาพในครั้งนั้นก็ยิ่งใหญ่
หน าซ้ าเทพเจ้าทั้งหลาย ทาวสักกะเทวราช ท้าวจตุโลกบาลทั้ง ๔ เหล่าเทวดาทั้งหลายก็มาเข้าเฝ้า
้
พระพุทธเจ้าตามศรัทธา เหล่าอมนุษย์ทั้งหลาย ภูตผีปีศาจก็ทนอยู่ไม่ได้ ก็เหมือนกับราชาเสด็จไปท ี่
ี่
ไหนก็ต้องมีเหล่าอารักขาตามเสด็จ ประธานาธิบดีทจะไปเมืองไหน ๆ ก็ต้องไปส ารวจไปเซอร์เวย์
ก่อน เพื่อป้องกันให้สถานที่นั้นปลอดภัยจากโจรผู้ร้าย เช่นเดียวกันในครั้งพุทธกาล พระพุทธเจ้า
็
ั้
เปนพระบรมครูผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทงหลาย เพราะฉะนั้น เทวดาทั้งหลายก็เป็นลูก
ศิษย์ของพระพุทธเจ้าหรือเป็นสาวกพระพุทธเจ้า เมื่อทราบข่าวว่าพระพุทธเจ้าจะเสด็จไปที่ไหน
เหล่าเทวดา ทาวจตุโลกบาลทั้ง ๔ ทาวพระอินทร์ ท้าวสักกะเทวราชก็จะตามเสด็จไปเข้าเฝ้าด้วย
้
้
่
เพื่ออารักขา หรือวาเพื่อแสดงความเคารพกตัญญูในพระพุทธเจ้า
้
ด้วยเหตุนี้ เวลาเราสวดมนต์ทุกครั้ง เราก็จะอัญเชิญเหล่ากายทิพย์ทั้งหลาย ทาวสักกะ
ั้
เทวราช พระอินทร์ พระยายมราช ยักษ์ นาค ครุฑ คนธรรพ์ พวกอมนุษย์ทงหลายให้มาฟัง เพื่อให้
มีจิตเมตตา ปรารถนาดีต่อกัน ไม่คิดร้าย ไม่มุ่งร้าย ไม่คิดจะอาฆาตพยาบาทจองเวร เพราะว่าเวรจะ
ระงับได้ด้วยการไม่จองเวร การด่าตอบ การด่าไปมา ๆ ตีไปตีมา ๆ ด่ากันไปด่ากันมา ทะเลาะกันไป
ทะเลาะกันมา มันก็ไม่สิ้นสุด มีแต่สร้างเวรกรรมเกิดการอาฆาตพยาบาทกัน จองเวรไม่รู้จักจบสิ้น
พระพุทธเจ้าจึงตรัสวา “เวรจะระงับได้ด้วยการไม่จองเวร” เพราะฉะนั้น เอาความบริสุทธิ์ไปสวดที่
่
เมืองเวสาล “พุทธรัตนะ” คือ ความบริสทธิ์ของพระพุทธเจ้า “ธรรมรัตนะ” คือ ธรรมะอันบริสุทธิ์
ี
ุ
ของพระพุทธเจ้า “สังฆรัตนะ” คือ ความบริสุทธิ์ของพระสงฆ์ ล้วนแล้วแต่มีจิตปรารถนาดี ไม่ได้คิด
๕๖