Page 282 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 282
Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry
268
development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
กองทุนพัฒนาผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology and Innovation-Based
Enterprise Development Fund, TED Fund)
เป็นหน่วยงานของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มีภารกิจในการสนับสนุนทุนด้านการ
ด าเนินธุรกิจ, การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่งขัน, สร้างเครือข่ายผู้สนับสนุนการร่วมลงทุน และสนับสนุนเครือข่ายบ่มเพาะผู้ประกอบการเทคโนโลยีและ
นวัตกรรม ซึ่งจะช่วยส่งเสริมผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้ประสบผลส าเร็จเชิงธุรกิจอย่างยั่งยืน สามารถน า
้
ผลงานวิจัยและนวัตกรรมไปต่อยอดใชประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ และร่วมผลักดันประเทศไทยไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วย
นวัตกรรม (Innovation-Driven Economy) พบ 1 โครงการที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมยา
(https://www.mhesi.go.th/home/index.php/pr/news/262-ted-fund-ted-fund-grant-day-2019)
โครงการทุนบูรณาการเพื่อความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Thailand MED TECH
Excellence Fund -TMTE Fund)
เกิดขึ้นโดยความร่วมมือของหน่วยงานสนับสนุนการวิจัย 7 หน่วยงานส าคัญ ได้แก่ ส านักงานคณะกรรมการส่ง
วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ส านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS)
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ส านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และ กองทุนพัฒนา
ผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรม และหน่วยส่งเสริมพัฒนาการวิจัย ส านักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ส านักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา เดิม) เพื่อส่งเสริมสนับสนุนทุนงานวิจัยด้านเทคโนโลยี
ทางการแพทย์ โดยมุ่งพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์ไทยและการประยุกต์ใชผลงานวิจัยในประเทศเพื่อทดแทนสินค้าน าเข้า
้
และผลิตนวัตกรรมใหม่สู่ตลาดโลก เพื่อยกระดับเพิ่มขีดความสามารถของอุตสาหกรรมการแพทย์ไทย
การสนับสนุนของโครงการครอบคลุมตั้งแต่การให้ทุนวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์ การให้ค าปรึกษาและ
รับรองมาตรฐาน การจัดการด้านทรัพย์สินทางปัญญา การขึ้นทะเบียนสิ่งประดิษฐ์ การสนับสนุนทางการตลาด ฯลฯ โดย
นอกจากหน่วยงานสนับสนุนทุน (Funding) ยังมีการสนับสนุนจากหน่วยงานที่มีกลไกอื่น ๆ (Non-Funding) ซึ่งจะช่วย
ประสานเชื่อมต่อในกระบวนการพัฒนางานวิจัยจนกระทั้งผลิตออกสู่ตลาด อาทิ องค์การอาหารและยา (อย.) ส านักงาน
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กรมทรัพย์สินทางปัญญา กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิและกลุ่มวิชาชีพ ได้แก่ โครงการศูนย์วิจัย
ทางคลินิกแห่งชาติ (National Clinical Research Center หรือ NCRC) กลุ่มผู้ซื้อและผู้เกี่ยวข้องกับการใช้ ได้แก่ ส านักงาน
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ฯลฯ โครงการนี้จึงถือเป็นการบูรณาการรวมหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อการสนับสนุนการ
พัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์อย่างครบวงจรนับตั้งแต่การพัฒนางานวิจัยจนถึงการผลิตสู่เชิงพาณิชย์ เพื่อสอดคล้องกับ
นโยบาย “เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” เปลี่ยนการผลิตสินค้าโภคภัณฑ์ไปสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม และเปลี่ยนวิธีการ
จาก “ท ามาก ได้น้อย” เป็น “ท าน้อย ได้มาก” ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
กรอบการสนับสนุน
โครงการที่ขอรับการสนับสนุน ต้องเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์หรือบริการนวัตกรรมทางการแพทย์ ครอบคลุมถึงวัสดุ
เครื่องมือ อุปกรณ์และบริการทางการแพทย์และสุขภาพ หรือผลิตภัณฑ์หรือบริการทางการแพทย์อื่น ๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อ
ดูแลผู้ป่วยตั้งแต่การป้องกัน (Prevention) การส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion) การค้นหาและวินิจฉัย (Diagnostic)
การเยียวยา (Treatment) การฟื้นฟู (Rehabilitation) เพื่อเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพในการดูแลผู้ป่วย การช่วยเหลือ
บุคลากรทางการแพทย์ ตลอดจนการพัฒนาสุขภาพ/คุณภาพชีวิตประชาชน โดยมุ่งเน้น