Page 286 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 286
Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry
272
development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
Provider) 3) พัฒนาระบบการให้บริการด้านพี่เลี้ยง ที่ปรึกษา และนักวินิจฉัย 4) ยกระดับการพัฒนามาตรฐานให้ SME มี
ประสิทธิภาพ และ 5) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จ าเป็นส าหรับการพัฒนา SME
เป้าประสงค์ที่ 2 มีการติดตามและประเมินศักยภาพ SME เพื่อให้ได้รับการพัฒนาอย่างเหมาะสม มี 1 แผนงาน คือ
สร้างระบบติดตามและประเมินศักยภาพ SME
กลยุทธ์ที่ 3.2 ทบทวน ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ สิทธิประโยชน์เพื่อเอื้อและลดอุปสรรคต่อการด าเนิน
ธุรกิจของ SME มีเป้าหมายหลัก คือ กฎหมาย กฎ ระเบียบ สิทธิประโยชน์ได้รับการปรับปรุง แก้ไขเพื่อเอื้อให้การด าเนิน
ธุรกิจของ SME มีความสะดวกมากขึ้น ภายในปี 2564 ประกอบด้วย 1 เป้าประสงค์และ 2 แผนงาน ดังนี้
เป้าประสงค์ที่ 1 กฎหมาย กฎ ระเบียบ สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ที่มีผลต่อการพัฒนา SME ได้รับการปรับปรุงแก้ไข มี
2 แผนงาน คือ 1) พัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย กฎ และระเบียบต่าง ๆ ที่มีผลต่อการพัฒนา SME และ 2) ก าหนดสิทธิ
ประโยชน์ส าหรับ SME ในรูปแบบต่าง ๆ
http://www.sme.go.th/upload/mod_download/download-20190214033137.PDF
http://www.ubu.ac.th/web/files_up/03f2017052114185579.pdf
โครงการยกระดับธุรกิจเริ่มต้น Boost up New Entrepreneurs ปี 2562
ส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) เป็นหน่วยงานที่มีภาระกิจหลักในการพัฒนา
ผู้ประกอบการที่กระจายตัวอยู่ทั่วทุกภูมิภาคและท าธุรกิจใน ภาคผลิต ภาคการค้า ภาคบริการ และภาคการเกษตร ให้สามารถ
เติบโตได้อย่างมั่งคั่งและยั่งยืน และใน 3 ปีที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่กว่า 30,000 ราย เพื่อกระตุ้นให้เกิดนัก
ธุรกิจใหม่ขึ้นทั่วประเทศ โดยมีการพัฒนาแนวคิดและแผนธุรกิจที่มุ่งเน้นให้สามารถขายสินค้าได้ เป็นที่ยอมรับของสถาบัน
การเงิน และสามารถเพิ่มมูลค่า ก่อให้เกิดรายได้มากขึ้น การพัฒนาที่ผ่านมาเป็นเพียงการพัฒนาระยะเริ่มต้นธุรกิจ
ผู้ประกอบการบางส่วนมีศักยภาพสามารถเติบโตเข้าสู่ระดับธุรกิจในกลุ่ม Regular ได้ แต่บางส่วนยังไม่สามารถก้าวผ่านการ
พัฒนาธุรกิจได้ดีพอแต่มีศักยภาพที่จะพัฒนาต่อยอดให้สามารถยกระดับได้ จ าเป็นจะต้องมีการผลักดันให้ผู้ประกอบการใน
้
กลุ่มที่มีศักยภาพ สามารถยกระดับธุรกิจให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน เช่น การน าเทคโนโลยีมาใชในกระบวนการ
ผลิตและกระบวนการบริหารจัดการ รวมถึงการพัฒนาสินค้าให้เป็นที่ยอมรับของตลาดด้วยคุณภาพ และมาตรฐานสากล สสว.
จึงได้จัดท าโครงการยกระดับธุรกิจผู้ประกอบการใหม่ (Boot up New Entrepreneurs) เพื่อพัฒนาและช่วยเหลือ
ผู้ประกอบการที่ผ่านกระบวนการพัฒนาในโครงการพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ในปี 2559-2561 และผู้ประกอบการนิติบุคคลได้
ไม่เกิน 3 ปี ในภาคผลิต ภาคการค้า ภาคบริการ และภาคการเกษตรที่มีอยู่ในปัจจุบันให้เข้มแข็งมากขึ้น มุ่งเน้นการยกระดับ
ผู้ประกอบการ โดยการน าเทคโนโลยี งานวิจัย นวัตกรรม จากมหาวิทยาลัย สถาบันวิจัย และภาครัฐ มาปรับใช้เพื่อพัฒนา
ธุรกิจของผู้ประกอบการ เพื่อสอดรับกับนโยบายของรัฐบาลที่ก าหนดให้ SME เป็นวาระแห่งชาติ และปฏิรูปภาคเกษตรไทยสู่
ยุค 4.0 (http://www.smetracking2562.com/boostup.php?module=detail)