Page 303 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 303

การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้าถึงยา   289



                       นอกจากนี้กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงการต่างประเทศ ส านักงาน

               คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และผู้ผลิตยาภาคเอกชน ร่วมกันจัดท าแผนการพัฒนายาตามบัญชียามุ่งเป้า ซึ่งหมายถึง ยาราคา
               แพงที่มีการใช้มาก ยาที่มีศักยภาพส่งออกสร้างรายได้ และยาสมุนไพรที่วิจัยพัฒนาในประเทศ และมีมาตรการเร่งด่วน ได้แก่

               การจัดท าข้อมูลสถานะสิทธิบัตรยา การก าหนดช่องทางเร่งด่วนขึ้นทะเบียนต ารับยา และการส่งเสริมการผลิตและวิจัยพัฒนา
               ยาในประเทศ ทั้งนี้ ในวันที่ 1 กรกฎาคม 2559 กระทรวงอุตสาหกรรม ส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และส านักงาน

               คณะกรรมการอาหารและยา จะจัดประชุมผู้ประกอบการและนักวิจัย เพื่อร่วมกันเสนอกรอบรายการยา เพื่อคัดเลือกเป็นบัญชี
               ยามุ่งเป้า (https://www.hfocus.org/content/2016/06/12346)



                       แผนปฏิบัติราชการประจ าปี 2563 ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีนาคม 2562
                       เนื่องจากแผนยุทธศาสตรส านักงานคณะกรรมการอาหารและยาในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับ

               ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยังไม่มีแผนที่ชัดเจนในการส่งเสริมอุตสาหกรรมยา แต่ในแผนปฏิบัติราชการประจ าปี 2563
               ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีความชัดเจนในเรื่องของการส่งเสริมอุตสาหกรรมยามากขึ้น โดยยุทธศาสตร์ของ อย.

               ที่ส่งเสริม ได้แก่


                        ์
                             ั
               ยุทธศาสตรที่ 3 พฒนางานบริการสู่ความเป็นเลิศและให้ผประกอบการมีความสามารถในการแข่งขัน (Smart Service)
                                                          ู้
               เป้าประสงค์ประเด็นยุทธ์ศาสตร์: ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตผลิตภัณฑ์สุขภาพ
               กลยุทธ์ที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพงานบริการให้มีความรวดเร็วและทันสมัย

                       มาตรการ
                              1. พัฒนาระบบการให้บริการ ผ่านระบบ e-Service

                              2. พัฒนาระบบ Call center อย.
                              3. พัฒนาระบบ Counter Service ณ จุดเดียว

                              4. จัดท าสื่อเรียนรู้ส าหรับผู้ประกอบการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์

               กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาศักยภาพ และเตรียมความพร้อมผู้ประกอบการรองรับกฎระเบียบใหม่และส่งเสริมการส่งออก
                       มาตรการ
                              1. พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการให้สามารถขึ้นทะเบียนได้ถูกต้องตามที่กฎหมายก าหนด

                              2. พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการให้สามารถส่งออกได้

               กลยุทธ์ที่ 3 สนับสนุนการเข้าสู่ธุรกิจของผู้ประกอบการหน้าใหม่
                       มาตรการ
                              ให้ค าแนะน าและพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการกลุ่ม Start up, OTOP, SMEs ให้สามารถขึ้นทะเบียนได้

               กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาระบบการรับรองและประเมินสมรรถนะผู้ประกอบการ

                       มาตรการ
                              1. พัฒนาหลักสูตรการประเมินสมรรถนะผู้ประกอบการ

                              2. มาตรการบริหารฝึกอบรม
                              3. มาตรการจัดระบบได้รับ Certificate
   298   299   300   301   302   303   304   305   306   307   308