Page 44 - กระทรวงยุติธรรม
P. 44
44 รายงานผลการดำาเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
เป้าหมายที่ 16 สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก ประจำาปี 2563
�
ิ
สานักงานสถิติแห่งชาต ได้จัดทารายงานผล
�
�
การสารวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย
พ.ศ. 2562 ร่วมมือกับองค์การยูนิเซฟ (UNICEF)
ประเทศไทย จัดทาโครงการสารวจสถานการณ์เด็ก
�
�
และสตร (MICS) ตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
ี
(Convention on the Rights of the Child : CRC) และ
สนธิสัญญาระหว่าง ประเทศอ่น ๆ กล่าวว่า เด็กทุกคน
ื
ี
มีสิทธิท่จะได้ช่อและสัญชาติการจดทะเบียนเกิด
ื
ั
จึงเป็นข้นตอนแรกของการรับรู้การมีตัวตนของเด็ก
ื
ตามกฎหมาย เพ่อเป็นการปกป้องสิทธิเด็ก และ
เป็นหลักประกันว่าการล่วงละเมิดสิทธิใด ๆ ของเด็ก
ี
จะเป็นท่สังเกตได้ สูติบัตรเป็นหลักฐานการจดทะเบียน
�
และการระบุตัวตนทางกฎหมายลาดับแรก และ
�
เป็นส่งจาเป็นในการเข้าถึงการดูแลสุขภาพหรือ
ิ
การศึกษา การมีเอกสารระบุตัวตนทางกฎหมาย
่
ึ
็
่
ุ
เปนรปแบบหนงของการคมครองเดกจากการแตงงาน
้
็
ู
หรือการเข้าสู่ตลาดแรงงานหรือถูกเกณฑ์ไปอยู่ใน
�
กองกาลังติดอาวุธก่อนบรรลุนิติภาวะ การจดทะเบียนเกิดและการมีสูติบัตรเป็นหลักฐานทางกฎหมาย
ี
�
ิ
�
ี
ท่ใช้พิสูจน์สถานท่เกิดและความสัมพันธ์ ในครอบครัวของเด็กและเป็นส่งจาเป็นในการทาหนังสือเดินทาง
ื
�
ในวัยผู้ใหญ่ สูติบัตรอาจมีความจาเป็นต่อการได้รับสิทธิในหลาย ๆ เร่อง เช่นการได้รับความช่วยเหลือ
ทางสังคมการทางานในระบบ สิทธิในการซ้อทรัพย์สินหรือการรับมรดก และการลงคะแนนเสียงในประเทศไทย
ื
�
มีสถานท่คลอดสองประเภท ได้แก่ ในโรงพยาบาลและนอกโรงพยาบาลโดยโรงพยาบาลหรือผู้ใหญ่บ้าน
ี
ี
จะเป็นผู้ออกหนังสือรับรองการเกิดและพ่อแม่ของเด็กหรือหัวหน้าครัวเรือนมีหน้าท่ในการแจ้งการเกิด
ต่อหน่วยงานทะเบียนท้องถิ่นภายใน 15 วันหลังคลอด จากนั้นนายทะเบียนจะออกสูติบัตรและเลขประจ�าตัว
พบว่า เด็กที่อายุต�่ากว่า 5 ปีที่ได้รับการจดทะเบียนเกิดจากหน่วยงานราชการ พ.ศ. 2562 คิดเป็นร้อยละ 99.8
ซึ่งเป็นการจัดเก็บข้อมูลทุกๆ 3 ปี (พ.ศ. 2560-2562)
ประชาชนเมื่อมีการจดทะเบียนเกิด