Page 6 - กระทรวงยุติธรรม
P. 6
6 รายงานผลการดำาเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
เป้าหมายที่ 16 สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก ประจำาปี 2563
ดานสังคมสงบสุข (Peace)
ประเทศไทยมุ่งสร้างสังคมท่ปลอดภัย โดยลดอัตราการเสียชีวิต และความสูญเสียจากการตกเป็นเหย่อ
ี
ื
ความรุนแรงทุกรูปแบบของประชากรทุกกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างย่งเด็กและเยาวชนซ่งเป็นกลุ่มเปราะบางในสังคม
ิ
ึ
ื
ั
ั
ั
�
รวมท้งการยับย้งการกระทาผิดในสังคมทุกรูปแบบ ท้งความผิดท่มุ่งสร้างความรุนแรงต่อชีวิตและร่างกายของผู้อ่น
ี
�
ึ
ตลอดจนขจัดการกระทาทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐซ่งสร้างความเสียหายให้แก่สังคมส่วนรวมและ
ิ
ึ
�
ื
ประเทศชาต เพ่อนาไปสู่การสร้างความสงบสุขให้แก่ประชาชนในสังคม ซ่งอำจนิยำมเป้ำหมำยกำรพัฒนำ
ท่ย่งยืนด้ำนสังคมสงบสุขในแบบส้นว่ำ “ปลอดอำชญำกรรม ลดควำมรุนแรง ปรำศจำกกำรทุจริต” จากข้อมูล
ี
ั
ั
การรายงานสถิติปัญหาอาชญากรรมในประเทศไทย โดยสานักงานตารวจแห่งชาต พบว่า อัตราคดีฆาตกรรม
�
ิ
�
ต่อประชากร 100,000 คน คิดเป็นสัดส่วน 2.36 โดยเป็นสัดส่วนเพศชาย 0.13 และเพศหญิง 0.03 และจ�านวน
ื
�
ผู้เสียหายจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ในพ้นท่จังหวัดชายแดนภาคใต้ จานวน 144 เหตุการณ์ จานวนผู้ถูกกระทา
�
ี
�
ความรุนแรงในครอบครัว จ�านวน 57 ราย เพศชาย 9 คน เพศหญิง 48 คน และประชาชนที่รู้สึกปลอดภัย
เมื่อเดินบริเวณพื้นที่ที่อาศัยเพียงล�าพังร้อยละ 74.4
100,000
2.36 % 57
9 48
0.13 % 0.03 % 74.4
จากการรายงานระดับความม่นคงปลอดภัยทางสังคมภายใต้ดัชนีสันติภาพโลก หรือ Global Peace Index
ั
(GPI) ของสถาบันวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์และสันติภาพ (Institute for Economics and Peace : IEP) ประเทศไทย
มีระดับความมั่นคงปลอดภัยทางสังคม ประจ�าปี 2563 อยู่ใน อันดับที่ 123 ซึ่งดีขึ้นจากปี 2562 ที่อยู่ในอันดับ
ี
่
ั
�
ท 125 สะท้อนว่า หน่วยงานด้านความม่นคงของประเทศไทยได้ดาเนินการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม
เชิงรุกมากขึ้น รวมทั้งมีการเตรียมพร้อมเพื่อลดความสูญเสีย ผลกระทบจากความรุนแรงของอาชญากรรม และ
ึ
ความไม่ปลอดภัยต่างๆ ท้งจากภายในและภายนอกประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้น โดยมุ่งพัฒนาการใช้
ั
เทคโนโลยีเพื่อบังคับใช้กฎหมาย แก้ไขปัญหาอาชญากรรม ปัญหาการจราจร และปัญหาความรุนแรงในสังคม
�
การกาหนดมาตรการควบคุมแหล่งซ่องสุมของผู้กระทาความผิดหรือผู้ต้องสงสัย แหล่งอบายมุขหรือสถานบริการ
�
ท่จะเป็นแหล่งเพาะอาชญากรรม การปลูกจิตส�านึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมือง ซ่งถือเป็นพ้นฐานสาคัญ
�
ื
ึ
ี
ในการแก้ไขปัญหาด้านการรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบและทุกระดับความรุนแรง ตลอดจน
ส่งเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม เพ่อพัฒนากระบวนการยุติธรรมร่วมกัน
ื
อย่างเป็นระบบ