Page 8 - กระทรวงยุติธรรม
P. 8
8 รายงานผลการดำาเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
เป้าหมายที่ 16 สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก ประจำาปี 2563
ดานไมแบงแยก (Strong Institution)
�
การมุ่งพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการและการดาเนินงานของหน่วยงานรัฐ ท้งด้านประสิทธิภาพ
ั
ด้านประสิทธิผล ด้านรับผิดชอบ และความโปร่งใส ตลอดจนการสร้างหลักประกันของสิทธิและโอกาสการเข้าไป
ั
�
ื
มีส่วนร่วมของประชาชนในกลไกการดาเนินงานของรัฐบนพ้นฐานของหลักสิทธิมนุษยชน รวมท้งผลักดัน
ึ
ให้ประเทศไทยเข้าไปมีสิทธิในการตัดสินใจในเวทีระดับโลกอย่างเป็นรูปธรรม ซ่งอำจนิยำมเป้ำหมำยกำรพัฒนำ
�
ท่ย่งยืนด้ำนไม่แบ่งแยกในแบบส้นว่ำ “ยกระดับกำรให้บริกำรและส่งเสริมกำรมีส่วนร่วม” การให้ความสาคัญ
ั
ั
ี
ในการเสริมสร้างจริยธรรม ได้ตามระเบียบคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดท�า
�
ประมวลจริยธรรม ข้อกาหนดจริยธรรมและกระบวนการรักษาจริยธรรมของหน่วยงานและเจ้าหน้าท่ของรัฐ
ี
พ.ศ. 2563 ที่มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 9 ตุลาคม 2563 ที่ก�าหนดให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคลและหน่วยงาน
ึ
�
ี
�
ของรัฐจัดทาประมวลจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ของรัฐแต่ละประเภท ซ่งการดาเนินการดังกล่าวสอดคล้องกับ
ิ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ยุทธศาสตร์ชาต แผนปฏิรูปประเทศ และพระราชบัญญัต ิ
มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ที่มุ่งให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม
อันน�าไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพการท�างานและเป็นที่เชื่อถือไว้วางใจของประชาชนมากขึ้น
.
. 2562
84.75 % 86.25 %
�
�
สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (สานักงาน ป.ป.ท.) ได้ร่วมกับโรงเรียน
�
กฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต จัดทา“หลักสูตรเสริมสร้างธรรมาภิบาลต่อต้านการทุจริต”
ู้
ี
ท่จะใช้เป็นเคร่องมือในการสร้างความร ความเข้าใจเก่ยวกับหลักธรรมาภิบาลให้แก่บุคลากรในหน่วยงานภาครัฐ
ื
ี
�
และภาครัฐท่เก่ยวข้อง ให้ทันต่อเหตุการณ์และสามารถนาความรู้ท่ได้จากการอบรมไปใช้ในการขับเคล่อน
ี
ี
ี
ื
ื
ี
ธรรมาภิบาลเพ่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตในหน่วยงานท่ตนรับผิดชอบได้อย่างเป็นรูปธรรม
้
ั
ี
ี
ี
โดยมีกลุ่มเป้าหมายเช่น เจ้าหน้าท่รัฐบรรจุใหม่ เจ้าหน้าท่รัฐหรือบุคลากรภาครัฐทงท่ปฏิบัตงานอยู่ใน
ิ
หน่วยงานราชการส่วนกลางส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถ่น ประกอบด้วย 4 วิชาหลัก ประกอบด้วย
ิ
ี
1) วิชากระบวนทัศน์หลักธรรมาภิบาลเพ่อการป้องกันการทุจริตและกฎหมายท่เก่ยวข้องกับการทุจริต
ื
ี
2) วิชาความรู้เก่ยวกับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity
�
ี
and Transparency Assessment) (ITA) 3) วิชาดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รัปชั่นในภาครัฐทั่วโลก (Corruption
ี
ิ
ี
้
Perception Index - CPI) 4) วิชาบริหารความเส่ยงการทุจริต นอกจากน กรมคุมประพฤต เปิดโอกาสให้
�
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงาน แสวงหาข้อเท็จจริง การติดตาม การสอดส่อง รวมท้งการแก้ไขฟื้นฟ ู
ั
ิ
ื
�
ี
ผู้กระทาผิดตลอดจนกิจกรรมอ่นๆ ท่เก่ยวข้องในการคืนคนดีสู่สังคม ผ่านอาสาสมัครคุมประพฤต (อ.ส.ค.)
ี
ั
ซ่งในปัจจุบันมีจานวนท้งส้น 20,178 คน มีศูนย์ประสานงานอาสาสมัครคุมประพฤติจานวน 706 ศูนย์ ท่วประเทศ
ึ
ิ
�
�
ั