Page 34 - BBLP ejournal2018.docx
P. 34

วารสารเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์



              โคนมรายตัวในช่วง 120 วันหลังคลอด และข้อมูลลักษณะความสมบูรณ์พันธุ์ ประกอบด้วย อัตราการผสม
              ติดครั้งแรก (FSC) จ านวนครั้งต่อการผสมติด (NSPC) ระยะเวลาตั้งแต่คลอดจนถึงผสมครั้งแรก (DTFS)

              และระยะเวลาตั้งแต่คลอดจนถึงผสมติด (DO) ของโคนมลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชียน จ านวน 2,988 ตัว ที่
              คลอดลูกและให้ผลผลิตระหว่างปี พ.ศ. 2540 ถึง 2560 ที่ได้รับการเลี้ยงดูในฟาร์มเกษตรกรจ านวน 464

              ราย ในพื้นที่จังหวัดสระบุรี และลพบุรี ที่ถูกรวบรวมไว้ในระบบฐานข้อมูลของส านักเทคโนโลยีชีวภาพการ
              ผลิตปศุสัตว์   กรมปศุสัตว์


              Table 1 Descriptive statistics for fat percentage (PFAT; % ) , protein percentage (PPRO; % ) , fat-

                       protein ratio (FP Ratio), first service conception rate (FSC; % ) , number of service per

                       conception (NSPC; times), day to first service (DFS; days) and day open (DO; days)   of
                       Holstein crossbred dairy cows in central part of Thailand


                     Traits         No. Cows     No. Records        Mean ± SD          Min         Max

               Milk Composition
                  PFAT (%)            2,988          4,932          5.73 ± 0.58       1.60         5.84

                  PPRO (%)            2,988          4,932          2.97 ± 0.21       2.20         4.30
                  FP Ratio            2,988          4,932          1.26 ± 0.20       0.52         2.13

               Reproductive
                  FSC (%)             2,988          4,932          0.37 ± 0.42         0           1

                  NSPC (times)        2,705          4,463          2.53 ± 1.93         1           10
                  DTFS (days)         2,255          3,605        97.08 ± 36.94        30          195

                  DO (days)           2,160          3,405        172.09 ± 87.50       45          400


                     กลุ่มพันธุกรรมของโคนมที่ปรากฏในประชากรที่ศึกษา ถูกจ าแนกออกเป็นกลุ่ม 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม

              พันธุกรรมโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ (Holstein; H) และกลุ่มพันธุกรรมโคนมพันธุ์อื่นๆ (other breed; O) โดย
              สัดส่วนทางพันธุกรรมของโคนมแต่ละตัว ถูกพิจารณาในรูปของ H ที่เบี่ยงเบนออกไปจาก O ซึ่งมีค่า
              ระหว่าง   0 (0 %H; 100 %O) ถึง 1 (100 %H; 0 %O) และระดับของเฮทเทอโรซีส (heterosis; Het) จะมี

              ค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1 ซึ่งสามารถค านวณได้ดังสมการ


                                                    (SH  × DO) + (DH  × SO)
                                             Het =
                                                          (256  × 256)

                            โดย

                                    SH     =      ระดับสายเลือดของโคนมพันธุ์โฮลสไตน์ของโคพ่อพันธุ์
                                    SO     =      ระดับสายเลือดของโคนมพันธุ์อื่นของโคพ่อพันธุ์


                                                           24
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39