Page 9 - นโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน (Anti-Corruption Policy)
P. 9
นโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน
3.2 คณะกรรมการตรวจสอบ
• สอบทานระบบรายงานทางการเงินและบัญชี ระบบการควบคุมภายใน ระบบงานตรวจสอบภายใน
และระบบบริหารความเสี่ยง เพื่อให้มั่นใจว่าเป็นไปตามมาตรฐานสากล มีความรัดกุม เหมาะสม
ทันสมัย และมีประสิทธิภาพ
• ก ากับดูแลความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการต่อต้านคอร์รัปชัน และ
รายงานผลการตรวจสอบให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบอย่างสม ่าเสมอ
• ให้ข้อเสนอแนะแก่ฝ่ายบริหารเพื่อการกากับดูแลการปฏิบัติงาน และรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท
ในกรณีที่มีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระท าดังต่อไปนี้
(1) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์
(2) การทุจริต มีสิ่งผิดปกติ หรือมีความบกพร่องที่ส าคัญในระบบการควบคุมภายใน
(3) การฝ่าฝืนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท
(4) การฉ้อฉล หรือการกระท าใดๆ ซึ่งส่งผลกระทบร้ายแรงต่อฐานะการเงิน ผลการด าเนินงาน
หรือชื่อเสียงของบริษัท
3.3 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการผู้จัดการ และผู้บริหาร
• ยึดถือนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชันเป็นแนวปฏิบัติในการด าเนินงาน
• ก าหนดให้ทุกฝ่ายงานและพนักงานทุกคนน านโยบายต่อต้านการคอร์รัปชันไปปฏิบัติ
โดยเคร่งครัด
• แต่งตั้งคณะท างานตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน เพื่อก ากบดูแลการปฏิบัติตาม
ั
นโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน
• ก ากับดูแล ให้มีระบบสนับสนุนการปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน
3.4 คณะท างานตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน
• ก ากับดูแลให้คณะกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน ตัวแทนและนายหน้า ตลอดจนบุคคลที่สามที่มี
ความเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ มีการปฏิบัติตามนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน
• สื่อสารให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ได้รับทราบว่า บริษัทฯ มีนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชัน
และบริษัทฯ เป็นสมาชิกแนวร่วมต่อต้านการคอร์รัปชันของภาคเอกชนไทย
• ประเมินความเสี่ยงด้านการคอร์รัปชันของบริษัทฯ พร้อมทั้งก ากับดูแลความเสี่ยงและ
การควบคุมภายในที่เกี่ยวข้องกับเรื่องการคอร์รัปชันให้เพียงพอ และเหมาะสม
• วางแนวทางในการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชัน
ั
สายงานตรวจสอบภายใน I บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จ ากด (มหาชน) 9
(ส าหรับใช้ภายในบริษัทเท่านั้น)