Page 146 - แผนการสอน 63-2
P. 146

1.  700 J/kg K                            2.  1,400 J/kg K
                         3.  2,100 J/kg K                             4.  4,200 J/kg K

               20. น้ า 1 kg อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ต้องการต้มให้เดือดเป็นน้ า 100 องศาเซลเซียส ความจุความร้อน
                    จ าเพาะของน้ า 4,180 J/kg K จะต้องใช้ความร้อนเท่าใด
                        1.  125.4 kJ                               2.  146.3 kJ
                          3.   292.6 kJ                            4.  303.4 kJ

               21. ในการเปลี่ยนสถานะของสาร สิ่งใดไม่เปลี่ยนแปลง
                       1.  ความดัน                                  2.  ปริมาตร
                         3.  อุณหภูมิ                                  4.  ทุกข้อที่กล่าวมา
               22. ในการเกิดสมดุลความร้อน ข้อใดเป็นจริง

                        1.  อุณหภูมิที่เพิ่มเท่ากับอุณหภูมิที่ลด
                        2.  มวลที่เพิ่ม เท่ากับมวลที่ลด
                        3.  ปริมาณความร้อนที่เพิ่ม เท่ากับปริมาณความร้อนที่ลด
                        4.  ทุกข้อที่กล่าวมา

               23. ข้อใดท าให้เกิดความร้อน
                        1. น้ าตก                                  2. หลอดไฟฟ้า
                        3. ลากกระสอบไปตามพื้น                      4. ทุกข้อที่กล่าวมา

               24. ข้อใดมีการใช้ความร้อนแฝงอย่างเดียว
                         1.  ต้มน้ าให้ระเหย                       2.  ต้มน้ าให้เดือด
                         3.  น้ าแข็งหลอมเหลว                      4.  น้ ากลายเป็นน้ าแข็ง
               25. สารจะรับความร้อนได้มากน้อยเพียงใด ไม่ขึ้นกับปริมาณใด
                        1.  มวลของสาร                             2.  ความจุความร้อนของสาร

                        3.  อุณหภูมิของสาร                           4.  ปริมาณความร้อนที่ให้
               26. สมดุลความร้อนหมายถึงข้อใด
                       1.  สาร 2 ชนิด มีมวลเท่ากัน มีพลังงานความร้อนเท่ากัน

                       2.  การถ่ายเทความร้อนของสาร 2 ชนิด จนมีอุณหภูมิเท่ากัน
                       3.  สาร 2 ชนิด ถ่ายเทพลังงานจากสารที่มีมวลมากสู่สารที่มีมวลน้อย
                       4.  สาร 2 ชนิด ถ่ายเทพลังงานจากสารที่มีมวลน้อยสู่สารที่มีมวลมาก
               27. ข้อใดไม่ใช้หลักการในการขยายตัวและหดตัวของวัตถุ

                       1.  การบรรจุของเหลวไม่เต็มขวด
                       2.  การเว้นช่องว่างระหว่างรางรถไฟ
                       3.  กาต้มน้ ามีสีเงินวาวและผิวมันเรียบ
                         4.  การเก็บกระป๋องสเปรย์ไว้ที่บริเวณอากาศเย็น

               28.  เพราะเหตุใดการวางรถไฟจะต้องวางให้มีช่องว่างระหว่างรอยต่อแต่ละท่อน
                       1.  เพื่อความสะดวกในการก่อสร้าง
                       2.  ประหยัดค่าใช้จ่ายในการวางราง
                       3.  ช่วยลดเสียงเสียดสีเมื่อรถไฟวิ่ง

                       4.  ป้องกันการขยายตัวหรือหดตัวของโลหะ



                                                            4
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151