Page 144 - แผนการสอน 63-2
P. 144

1.  ของแข็งโมเลกุลอยู่ใกล้กัน มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมาก จึงมีปริมาตรและรูปร่างแน่นอน
                         2.  ของเหลวมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อยกว่าของแข็ง โมเลกุลของเหลวจึงเคลื่อนที่ตลอดเวลา

                       3.  แก๊สเป็นสถานะที่มีเเรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อยที่สุด
                         4.  ของแข็งเป็นสถานะที่โมเลกุลไม่มีการสั่นจึงไม่มีความร้อนอยู่เลย
               8. ความจุความร้อนจ าเพาะหมายถึงข้อใด
                       1.  พลังงานความร้อนที่ให้แก่สาร

                       2.  พลังงานความร้อนที่ให้แก่สารต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น
                       3.  พลังงานความร้อนที่ให้แก่สารต่อหนึ่งหน่วยมวล
                         4.  พลังงานความร้อนที่ให้แก่สารต่อหนึ่งหน่วยมวลต่อหนึ่งหน่วยอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น
               9. สาร A มีความจุความร้อนจ าเพาะมากกว่าสาร B สารทั้งสองมีมวลเท่ากัน เมื่อให้ความร้อนแก่สารทั้งสอง

                  เท่ากันที่อุณหภูมิห้อง ข้อใดถูกต้อง
                        1.  อุณหภูมิสาร A มากกว่าสาร B
                        2.  อุณหภูมิสาร A น้อยกว่าสาร B
                        3.  อุณหภูมิสาร A เท่ากับสาร B

                        4.  ความจุความร้อนของสาร A เท่ากับสาร B
               10. การอ่านอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์ มีหลักการอ่านอย่างไร
                          1.  ระดับสายตาอยู่ต่ ากว่าระดับของเหลวในเทอร์มอมิเตอร์

                          2.  ระดับสายตาอยู่สูงกว่าระดับของเหลวในเทอร์มอมิเตอร์
                          3.  ระดับสายตาอยู่ระดับเดียวกับระดับของเหลวในเทอร์มอมิเตอร์
                          4.  ระดับสายตาอยู่ในระดับใดก็ได  ้
               11. เทอร์มอมิเตอร์แบบเซลเซียสที่จุดเยือกแข็ง (0 °C ) จะอ่านค่าในเทอร์มอมิเตอร์แบบองศาฟาเรนไฮต์ได้
                    เท่าใด

                        1.   32  องศาฟาเรนไฮต              2.   40    องศาฟาเรนไฮต์
                                            ์
                                            ์
                        3.   80  องศาฟาเรนไฮต              4.   273  องศาฟาเรนไฮต  ์
               12. อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส ถ้าแปลงค่าไปเป็นเคลวิน จะอ่านค่าได้เท่าใด

                        1.   0  เคลวิน                     2.   212    เคลวิน
                        3.   100  เคลวิน                   4.    373   เคลวิน
               13. ตัวเลขบอกอุณหภูมิในหน่วยเคลวิน (K) กับหน่วยองศาเซลเซียส (°C) ต่างกันเท่าใดเสมอ
                        1.   80                            2.   90

                        3.   100                           4.   273
               14. อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส สามารถแปลงได้เป็นกี่เคลวิน ( K )
                        1.   300  เคลวิน                   2.   310  เคลวิน
                        3.   320  เคลวิน                   4.   330  เคลวิน

               15. เทอร์โมมิเตอร์ชนิดเซลเซียสวัดอุณหภมิของสารได้  0 องศาเซลเซียส ถ้าใช้เทอร์โมมิเตอร์ แบบองศา
                                                  ู
                    ฟาเรนไฮต์จะเปลี่ยนแปลงเท่าใด
                       1.   0    องศาฟาเรนไฮต์             2.   32   องศาฟาเรนไฮต  ์
                         3.   100  องศาฟาเรนไฮต   ์        4.   373  องศาฟาเรนไฮต  ์

               16. ถ้าน าน้ าดื่มไปวางไว้ที่อุณหภูมิ 194 °F  น้ าจะมีลักษณะตามข้อใด



                                                            2
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149