Page 28 - แผนการสอน 62-2
P. 28

3



                       1. น านักเรียนเข้าสู่หน่วยที่ 5 พลังงานความร้อนโดยอภิปรายเชื่อมโยงกับเหตุการณ์ในชีวิตประจ าวัน
               เช่น การเปลี่ยนสถานะ โดยใช้ค าถามว่า  การเปลี่ยนสถานะมีอะไรบ้าง และเกี่ยวข้องกับพลังงานความร้อน
               อย่างไร และเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนโดยอาจใช้ค าถามว่าพลังงานความร้อนเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงอื่น ๆ

               ของสสารอีกหรือไม่ อย่างไร
                       2. ให้นักเรียนสังเกตภาพน าหน่วยในหนังสือเรียนเกี่ยวกับการหลอมแก้ว ภาพ วีดิทัศน์ และสื่ออื่น
               เพิ่มเติมเกี่ยวกับการผลิตผลิตภัณฑ์จากแก้ว พร้อมทั้งอ่านเนื้อหาน าหน่วย และร่วมกันอภิปรายโดยอาจใช้

               ค าถามดังต่อไปนี้
                                 - จากเรื่องที่อ่าน กล่าวถึงวัสดุชนิดใด (แก้ว)
                                 - การท าผลิตภัณฑ์จากแก้วให้มีรูปทรงต่าง ๆเกี่ยวข้องกับพลังงานความร้อนหรือไม่อย่างไร
                       3. ให้นักเรียนอ่านค าถามน าหน่วยในหนังสือเรียน จากนั้นร่วมกันวิเคราะห์ค าถามน าหน่วย และ
               อภิปรายว่าในหน่วยนี้นักเรียนจะได้เรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร และเชื่อมโยงเข้าสู่การเรียนรู้ของหน่วยเกี่ยวกับ

               พลังงานความร้อน
                       4. ให้นักเรียนสังเกตภาพน าบทในหนังสือเรียนหรือภาพ วีดิทัศน์ หรือสื่ออื่น ๆ เพิ่มเติมเกี่ยวกับการ
               ผลิตเหรียญกษาปณ์ พร้อมทั้งให้นักเรียนอ่านเนื้อหาน าบท และร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับขั้นตอนการผลิต

               เหรียญกษาปณ์ว่าเกี่ยวข้องกับพลังงานความร้อนอย่างไร โดยอาจใช้ค าถามดังต่อไปนี้
                          - ขั้นตอนการผลิตเหรียญกษาปณ์มีการเปลี่ยนสถานะของโลหะอย่างไรบ้าง

               ขั้นที่ 2  ส ารวจและค้นหา

                       1. ให้นักเรียนสังเกตภาพ 5.1 การระเหิดของไอโอดีนอ่านเนื้อหาน าเรื่อง และรู้จักค าส าคัญ ท า
               กิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนเพื่อประเมินความรู้พื้นฐานของนักเรียนเกี่ยวกับสสารและสถานะของสสาร
               หากพบว่านักเรียนยังมีความรู้พื้นฐานไม่ถูกต้อง ครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียน เพื่อให้
               นักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่ถูกต้องและเพียงพอที่จะเรียนเรื่องแบบจ าลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะ

               ต่อไป
                       2. ตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับแบบจ าลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะของนักเรียน โดยให้ท า
               กิจกรรม รู้อะไรบ้างก่อนเรียนในหนังสือเรียนหน้า 5 นักเรียนสามารถเขียนและวาดภาพได้ตามความเข้าใจของ
               ตนเอง

                       3. น าเข้าสู่กิจกรรมที่ 5.1 แบบจ าลองอนุภาคของสสารในแต่ละสถานะเป็นอย่างไร โดยใช้ค าถาม
               กระตุ้นความสนใจว่าสสารแต่ละชนิดประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็ก ซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เคย
               จินตนาการหรือไม่ว่าอนุภาคเล็ก ๆ เหล่านี้ประกอบเข้าด้วยกันจนเป็นสสารในสถานะต่าง ๆ ได้อย่างไร และ
               ทราบหรือไม่ว่า การจัดเรียงอนุภาคส่งผลต่อรูปร่างและปริมาตรของสสารในแต่ละสถานะอย่างไร

                       4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการท ากิจกรรม โดยติดผลการท ากิจกรรมรอบผนังห้องเรียนหรือ
               จัดแสดงที่โต๊ะและนักเรียนทุกคนเดินศึกษา (gallery walk) จากนั้นร่วมกันอภิปรายผลการท ากิจกรรมและ
               เปรียบเทียบผลการท ากิจกรรมของกลุ่มอื่นกับของกลุ่มตนเอง รวมทั้งวิเคราะห์จุดเด่นและจุดด้อยแบบจ าลอง
               ของแต่ละกลุ่ม
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33