Page 34 - Zero waste
P. 34

Zero Waste to Landfill ที่ผานมา โครงการพัฒนาดอยตุงฯ มีปญหาเรื่องการ

               จัดการขยะไมตางจากพื้นที่อื่น ๆ ในประเทศ และดวยภูมิประเทศทีอยูบนดอยสูงยิ่งเปน
                                                                                                        
                                                                                     ่
               อุปสรรคดานการขนสงที่แตกตางจากชุมชนในพื้นที่ราบทั่วไป จากการศึกษาพบวาขยะที              ่

               ยอยสลายได เชน เศษอาหาร เมื่อถูกทิ้งแลวนำไปจัดการดวยการฝงกลบลงดิจะไม

                                                                                      ้
                           ุ
                        
                           
                                                                                               
                                                                         
                                                                                 ื
               กลายเปนปย แถมยังสงผลกระทบอยางรายแรง เพราะบอขยะเกอบทังหมดเปนการหมัก
                                                                                                 ิ
                                                                                              
               แบบไรอากาศ เศษอาหารจะยอยสลาย และปลอยกาซมีเทนออกมา สงผลใหเกดสภาวะ
                                                                     
               โลกรอนรุนแรงกวาคารบอนไดออกไซดถึง 25 เทา ซึ่งสามารถแกไขไดดวยการจัดการ
               ขยะอยางถูกวิธี
                                                                                                         ุ
                       จากปญหาดังกลาว จึงเกิดการบริหารจัดการขยะ ในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตง
                                                                                            
                                                                                              
                                                                                       ้
                                       
                                                              ่
                                                    
                                   
               ฯ ตั้งแตป 2555 เปนตนมา โดยมีเปาหมายเพือลดปริมาณขยะเหลือทิงลงสูบอฝงกลบให                 
               เปนศูนย (Zero Waste to Landfill)
                       จากจุดเล็ก ๆ สูความสำเร็จที่ยิ่งใหญโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ไดนำรองการ
               จัดการขยะ และพัฒนาอยางตอเนื่องจนกลายเปน ศูนยการเรียนรูดานการจัดการ
               สิ่งแวดลอม เพื่อเปนพื้นที่ทดลองทำจริงใหเกิดผล แลวเผยแพรใหความรูเรื่องการจดการ
                                                                                                    ั
               ขยะและแปลงขยะใหเปนรายได อีกทั้งใสป 2563 ยังเริ่มขยายผลไปยังชุมชนและ
               โรงเรียนในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุงฯ เพื่อแกไขปญหาขยะ และนำขยะมาใชเกด
                                                                                                        ิ
               ประโยชนสูงสุดเบื้องหลังความสำเร็จของการแยกขยะของโครงการพัฒนาดอยตุงฯ คือ

               ความรวมมือรวมใจกันของพนักงานทุกคนที่ปฏิบัติตามหลักการแยกขยะแบบแบงตาม
               การใชประโยชน เพื่อไมใหขยะจำนวนมากตกเปนภาระหนักของคนที่รออยูปลายทาง

               เพียงไมกี่คน

               บทเรียนจากโครงการพัฒนาดอยตุง

                       ศูนยการเรียนรูดานการจัดการสิ่งแวดลอม บริหารจัดการแยกขยะที่สงมาจาก

               สวนสำนักงาน โรงงาน หองอาหารและขยะจากสถานที่ทองเที่ยวภายในโครงการฯ โดย

                                                        
                                              
               มีหลักการแยกขยะตามการใชประโยชน 6 ประเภท ไดแก              
                       1. ขยะยอยสลายได เชน เศษอาหาร เศษผัก เปลือกกาแฟเชอรรี่ ฯลฯ จัดการ
               นำไปทำปุยหมัก ปุยไสเดือน น้ำหมัก EM ผลิตอาหารของหนอนแมลงวันลาย และ

               อาหารสัตว ซึ่งสวนนี้สรางรายไดรวมกวา 436,600 บาท/ป

                       2. ขยะขายได เชน แกว จานพลาสติก กระดาษ โลหะ ฯลฯ จัดการโดยการคัด

               แยก รวบรวมแลวนำไปจำหนาย
                                                                                                        
                       3. ขยะเปอน เชน พลาสติกที่เปอนอาหาร ฯลฯ จัดการโดยนำมาลาง ปนแหง
               แลวนำไปจำหนาย
   29   30   31   32   33   34   35   36   37