Page 36 - Zero waste
P. 36

บทเรียนจากคามิคัทซึ ตนแบบเมืองปลอดขยะของญี่ปุน

                       คามิคัทซึ เปนเมืองชนบทเล็กๆ ในหุบเขาที่ชื่อคามิคัทซึ อยูทางตอนกลางของ
               จังหวัดโทคุชิมะ บนเกาะชิโกกุ ประเทศญี่ปุน และไดรับการยอมรับใหเปนตนแบบการ

               จัดขยะโดยชุมชนที่เขมแข็งที่สุดแหงหนึ่งในโลก

                       หมูบานคามิคัทซึมีพื้นที่ทั้งหมด 109.63 ตารางกิโลเมตร มีจำนวนประชากร

               ประมาณ 1,500 คน โดยเกินครึ่งเปนผูสูงอายุ ในอดตเมืองคามิคัทซึมีวิธีการจัดการขยะ
                                                                     ี
                                                                                                    
               คลายกับชุมชนอื่นๆ ผูคนสวนใหญกำจัดขยะแบบไมคัดแยก ใชวิธีเผาแบบเปดในบอขยะ
                                                                                             
               ของชุมชน ซึ่งนอกจากจะอันตรายแลวยังกอใหเกิดปญหามลพิษอีกดวย
                       องคกรไมแสวงหาผลกำไรชื่อ “Zero Waste Academy” โดยการนำของ อากระ
                                                                                                       ิ
               ซากาโนะ (Akira Sakano) คือเรี่ยวแรงหลักที่ชักชวนใหชุมชนคามิคัทซึหันมาชวยกันหา

               วิธีจัดการกับวิกฤตสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืนใหกับชุมชน โดยตั้งเปาวาคามิคัทซึจะตองเปน

                                    
               เมืองไรขยะภายในป 2020 (Kamikatsu Zero Waste 2020 Declaration) ซึ่งแนวทาง
                         
                 ่
                                                                                               ึ
                                                                                               ่
               ทีนำมาใชคือ ลดขยะ (Reduce) รีไซเคิล (Recycle) และการใชซ้ำ (Reuse) ซงผลสำเร็จ
               ทีไดมาเพราะความมีวินย เครงครัด และความสามัคคีของชาวเมือง
                 ่
                                        ั
                    
                       เริ่มตนแยกขยะตั้งแตครัวเรือน กระบวนการจัดการขยะของคามิคัทซึเริ่มตนตั้งแต        
               ระดับครัวเรือน ทุกบานตองคัดแยกขยะ และลางใหสะอาดตั้งแตตนทางกอนนำไปสง
               มอบใหสถานีคัดแยกดวยตัวเอง ซึ่งจะมีเจาหนาที่ชวยแนะนำวิธีทิ้งใหถูกประเภท และ

                                                                                                  ื
               สำหรับผูสูงอายุที่ไมสามารถเดินทางไปที่สถานีคัดแยกขยะไดดวยตัวเอง ทุก 2 เดอนทาง
               เทศบาลจะสงเจาหนาที่มารับขยะนำไปสงที่สถานีคัดแยกให แมวาคามิคัทซึจะเปนเมือง
               เล็กๆ แตคัดแยกขยะแตละประเภทไดมากถึง 45 ชนิด โดยแบงเปน 13 ประเภทใหญๆ

                                                              ิ
               เชน โลหะ กระดาษ ผา ขยะจากครัว พลาสตก ขวดแกว ขยะอันตราย ฯลฯ ในสวนของ
               ขยะสด เทศบาลสนับสนุนเงินบางสวนเพื่อใหแตละครัวเรือนนำไปซื้อเครื่องยอยสลาย

                                                                          ่
                                                                                                     ุ
                                                                 ุ
               ขยะอินทรียขนาดเล็ก หรือถังหมักขยะเปยกทำปยหมักเพือลดปริมาณขยะสดของชมชน
               ไดแบบเบ็ดเสร็จ
                                                                                               ั
                       นอกจากนี้ ยังรวมมือกับบริษัทเอกชนเจาของบรรจุภัณฑตางๆ ใหบริษทผูผลิตมา
                                                                                          
               รับบรรจุภัณฑคืนเพื่อนำไปจัดการตอไป ปจจุบัน การคัดแยกขยะแบบลดปริมาณขยะ

               เหลือทิ้งลงสูบอฝงกลบใหเปนศูนย (Zero Waste to Landfill) ของคามิคัทซึทำไดที           ่

               ระดับ 80% เหลืออีก 20% ที่ตองทิ้งลงสูบอฝงกลบ ซึ่งนี่คือโจทยที่ชาวคามิคัทซึยังคง

               ตองหาทางจัดการแกปญหาตอไป สรางโอกาส สรางอาชีพ ตอยอดจากขยะ นอกจาก

                                                                                                        
               การจัดการปญหาขยะแลว เมืองคามิคัทซึยังมีแนวคิดในการตอยอดจากขยะสูการเปด
               ราน Kuru-Kuru Upcycling Craft Center ที่เหลาแมบานในชุมชนชวยกันนำเอา
   31   32   33   34   35   36   37