Page 55 - โลกเปลี่ยน คนปรับ สุวิทย์ เมษินทรีย์
P. 55
เพื่อใช้ในการทำางาน (Head & Hand) รวมถึงการปรับเปลี่ยนความคิด
จากเดิม ยิ่งมาก ยิ่งได้ เป็น ยิ่งปัน ยิ่งได้ และเปลี่ยนความคิดจากเดิม
ื
่
ื
ิ
ู
ี
็
ื
ู
ย่งใหญ ย่งด เปน เม่อขาดต้องร้จักเติม เม่อพอต้องร้จักหยุด และเม่อเกิน
ิ
ต้องร้จักปัน ด้วยการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ้
ำ
ู
ึ
้
ำ
ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ซ่งหากทาได พวกเราก็จะสามารถก้าวข้าม
ู
ั
่
ุ
ั
ำ
“ความอับจนบนความม่งค่ง” และนาพาไปส “ความร่มรวยบน
ความพอเพียง” แทน
“ตู้ปันสุข”
ความรุ่มรวยบนความพอเพียง
ู
“ต้ปันสุข” เป็นต้ท่นาไปต้งในชุมชน ให้ผ้ท่ต้องการแบ่งปัน
ี
ั
ี
ำ
ู
ู
ำ
ู
ู
ำ
สามารถนาอาหารมาใส่ในต้ สาหรับผ้ขาดแคลนในช่วงวิกฤต
โควิด-19 มาหยิบไปได้ โดยโครงการเร่มต้นจาก คุณสุภกฤษ
ิ
ู
กุลชาติวิจิตร ผ้เช่ยวชาญด้านการตลาดและเจ้าของเพจ “ร้รอบ
ู
ี
ตอบโจทย์” ได้เห็นโครงการ “Pantry of Sharing” ในต่าง
ประเทศ จึงได้รวมกลุ่มเพื่อนเพื่อทำาโครงการนี้ขึ้นที่ประเทศไทย
ในนาม “กลุ่มอิฐน้อย”
ั
ทางคุณสุภกฤษ ได้ทาคลิปแสดงข้นตอนการสร้างและติดต้ง
ั
ำ
้
ู
ั
ุ
ั
ี
ู
ี
ิ
ตปันสข รวมท้งในขณะใช้งานจรงทงผท่มาใส่อาหาร และผท่มาเลือก
้
้
้
ู
ำ
ึ
หยิบอาหารออกไป ซ่งมีการแชร์ในโลกออนไลน์ออกไปเป็นจานวนมาก
ู
ี
มีการทาข่าวจากส่อหลายสานัก ทาให้โครงการเป็นท่รับร้ในวงกว้าง
ำ
ื
ำ
ำ
ในสังคมไทย
“ตอนแรกหลายคนก็บอกว่าหายหมดยกตู้แน่นอน คนต้อง
ิ
กวาดเกล้ยงต หรือจะโดนกวาดเอาไปขาย และน่คือบทพสูจน์วา
่
ู
ี
ี
้
ำ
คนไทยยังมีน้าใจต่อกันครับ”
ความพอเพียงในโลกหลังโควิด 21