Page 7 - 2. รายงานสถานการณ์คุณภาพน้ำผิวดิน สคพ.4 _2565
P. 7

3

                      ในเขตพื้นที่ 22 ลุ่มน้ำหลักในปัจจุบัน ตามที่กำหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกากำหนดลุ่มน้ำ พ.ศ. 2564 ซึ่ง
            แบ่งเป็นลุ่มน้ำสาขาจำนวน 353 ลุ่มน้ำและหมู่เกาะต่าง ๆ ของแต่ละลุ่มน้ำหลักอีกจำนวน 6 หมู่เกาะ จำแนกตามภาค

            รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 1.2
            ตารางที่ 1.2 ลุ่มน้ำหลักในปัจจุบันจำแนกตามภาค

                          ภาค                                           รายชื่อลุ่มน้ำ

             ภาคเหนือ                            1.  ลุ่มน้ำสาละวิน                  4. ลุ่มน้ำวัง
                                                 2.  ลุ่มน้ำโขงเหนือ                 5. ลุ่มน้ำยม
                                                 3.  ลุ่มน้ำปิง                        6. ลุ่มน้ำน่าน

             ภาคกลาง+                            1.  ลุ่มน้ำเจ้าพระยา               6. ลุ่มน้ำบางปะกง
                                                 2.  ลุ่มน้ำสะแกกรัง                7. ลุ่มน้ำโตนเลสาบ
                                                 3.  ลุ่มน้ำป่าสัก                     8. ลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก
                                                 4.  ลุ่มน้ำท่าจีน                     9. ลุ่มน้ำเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์

                                                 5.  ลุ่มน้ำแม่กลอง
             ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ               1.  ลุ่มน้ำโขงตะวันออกเฉียงเหนือ         3. ลุ่มน้ำมูล
                                                 2.  ลุ่มน้ำชี

             ภาคใต้                              1.  ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนบน     3. ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
                                                 2.  ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง    4. ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก


            1.2 ลุ่มน้ำหลักที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบสำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 4 (นครสวรรค์)
                                                                  ี่
                                    ื้
                     จากการแบ่งเขตพนที่ลุ่มน้ำหลักดังกล่าว มีลุ่มน้ำหลักทอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบสำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุม
            มลพิษที่ 4 (นครสวรรค์) จำนวน 4 ลุ่มน้ำ ดังแสดงในตารางที่ 1.3
            ตารางท 1.3 ลุ่มน้ำหลักที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบสำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 4 (นครสวรรค์)
                   ี่
                       ลุ่มน้ำ          จังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบสำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 4
                                        ที่อยู่ในเขตลุ่มน้ำ (นครสวรรค์)

             ลุ่มน้ำปิง                 จังหวัดกำแพงเพชร  จังหวัดนครสวรรค์
             ลุ่มน้ำยม                  จังหวัดกำแพงเพชร  จังหวัดนครสวรรค์  จังหวัดพิจิตร
             ลุ่มน้ำน่าน                จังหวัดกำแพงเพชร  จังหวัดนครสวรรค์  จังหวัดพิจิตร

             ลุ่มน้ำเจ้าพระยา           จังหวัดกำแพงเพชร  จังหวัดนครสวรรค์  จังหวัดอุทัยธานี
             ลุ่มน้ำสะแกกรัง            จังหวัดกำแพงเพชร  จังหวัดนครสวรรค์  จังหวัดอุทัยธานี


                     นอกจากลุ่มน้ำหลักจำนวน 4 ลุ่มน้ำแล้ว สำนักงานสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 4 (นครสวรรค์) ยังมี
            บึงน้ำจืดที่สำคัญอยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 2 แหล่งน้ำ ได้แก่
                     1.  บึงบอระเพ็ด
                         บึงบอระเพ็ดเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์ มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 132,737 ไร่


            56 ตารางวา มีอาณาเขตติดต่อกัน 3 อำเภอ คือ อำเภอเมือง อำเภอชุมแสง และอำเภอท่าตะโก
                     2.  บึงสีไฟ
                         บึงสีไฟเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญของภาคเหนือตอนล่างตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดพิจิตรมีเนื้อที่ทั้งหมด

            5,390 ไร่เศษมีอาณาเขตติดต่อ 4 ตำบล คือ ตำบลท่าหลวง ตำบลคลองคะเชนทร์ ตำบลโรงช้าง และตำบลเมืองเก่า

                                                                    ี
                          รายงานสถานการณ์คุณภาพน ้าแหล่งน ้าผิวดิน ประจ าปงบประมาณ พ.ศ. 2565
                    ส ำนักงำนสิ่งแวดล้อมและควบคุมมลพิษที่ 4 (นครสวรรค์)
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12