Page 7 - Trang
P. 7

ขอมูลทั่วไปจังหวัดตรัง



            อาณาเขตติดต่อ

             ทิศเหนือ   ติดตอกับ อ.ทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช และอ.
            คลองทอม จังหวัดกระบี่

             ทิศใต     ติดตอกับ อ.ทุงหวา จังหวัดสตูล อ.รัตภูมิ จังหวัด

            สงขลา และชองแคบมะละกาสมุทรอินเดีย
             ทิศตะวันออก ติดตอกับ อ.ควนขนุน อ.กงหรา อ.ตะโหมด จังหวัด

            พัทลุง โดยมีเทือกเขาบรรทัดกั้นอาณาเขตตลอดแนว
             ทิศตะวันตก ติดตอกับ อ.คลองทอม อ.เกาะลันตา จังหวัดกระบี่
                                         
            และมหาสมุทรอินเดีย


            ลกษณะภูมิประเทศ
              ั
              สภาพพื้นที่เปนเนินสูงๆ ต่ําๆ สลับดวยเขาเล็กๆ กระจัดกระจายอยู 

            ทั่วไป พื้นที่คอนขางราบเรียบมีจํานวนนอยซึ่งใชเพาะปลูกขาว ทางทิศ

            ตะวันออกมีเทือกเขาบรรทัดยาวจากเหนือจดตอนใต และเปนเสนแบง
            เขตแดนจังหวัดตรังกับจังหวัดพัทลุง มีเนื้อที่ปาเกือบรอยละ 20 ของ

            เนื้อที่จังหวัดสวนใหญเปนพื้นที่แถบเทอกเขาบรรทัด ลักษณะดินสวน
                                           ื
            ใหญเปนดินรวนปนทราย สภาพปาเปนปาดิบชื้น มีปาชายเลนสําหรับ

            ทองที่ที่อยูติดชายทะเล และมีลําน้ําสําคัญๆ 3 สาย อันไดแก แมน้ํา
            ตรัง ซึ่งมีตนกําเนิดจากเขาวังหีบ เทือกเขาหลวง จังหวัด

            นครศรีธรรมราช แมน้ําปะเหลียน เกิดจากเทือกเขาบรรทัด เขตอําเภอ

            ปะเหลียน คลองกะลาแสและตนน้ํา ที่เกิดจากควนปลวกรอน ควนชะ
            ไน และควนน้ําแดง ชายแดนตรัง กระบี่ นอกจากนี้ยังมีลําหวยบริวาร

            ที่คอยสงน้ําใหอีกกวา 100 สาย ทั้งยังมีชายฝงดานตะวันตก ติดทะเล
            อันดามันที่ยาวถึง 119 กม. กับเกาะตางๆ กระจัดกระจาย อยูกวา 46

            เกาะ และปาชายเลนที่ยังคงอยูในสภาพที่อุดมสมบูรณ 
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12