Page 16 - 23 แบม 6-2 โครงการปลูกต้นไม้ลดฝุ่น PM 2.5
P. 16
4.ทักษะที่ได้จากการทำงานคือ ทักษะการใช้ภาษา ตอนที่เขียนสรุปการทดลองต้องมีการใช้ภาษาต่างๆ ใช้
คำเชื่อมต่างๆ และเราก็ต้องหัดคิดเชื่อมโยงว่าเราจะเขียนจากตารางให้มาเป็นย่อหน้าได้ยังไง สรุปยังไงให้
กระชับแต่ได้ใจความสำคัญที่เราจะสื่อ
5.ทักษะที่ได้จากการทำงานคือ ทักษะการสังเกต การติดตามผล เช่นตอนทำการทดลองเราก็ต้องสังเกต
ตลอดว่าค่าฝุ่นลดไปเท่าไหร่แล้ว และติดตามผลตลอดไม่ให้ค่าฝุ่นคลาดเคลื่อน
ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา
1.เวลาเลือกต้นไม้ที่ช่วยลดฝุ่นควรเลือกต้นที่เหมาะกับสถานที่ที่จะปลูก เช่นจะปลูกในที่ร่ม ก็เลือกต้นไม้ที่
ไม่ชอบแสง
สรุปผล
้
จากการทดลองพบว่าต้นไมสามารถฟอกอากาศได้จริง ซึ่งต้นไม้ที่เราทดลองมีต้นพลูด่าง ลิ้นมังกร
กวักมรกต และว่านหางจระเข้
ึ
ต้นพลูด่างจากนาทีท 0 ถึงนาทีที่ 30 ในการทดลองครั้งแรกพบว่าค่าฝุ่นลดจาก 24 ลงไปถง 8
ี่
µg/m³ ในการทดลองครั้งที่ 2 พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 18 ลงไปถึง 6 µg/m³ โดยเฉลี่ยแล้วค่าฝุ่นลดไป 9
µg/m³ ภายในเวลา 30 นาที แสดงให้เห็นว่าต้นพลูด่างสามารถลดฝุ่น PM 2.5 ได้จริง
ต้นกวักมรกตจากนาทีที่ 0 ถึง30 ในการทดลองครั้งแรก พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 20 ลงไปถึง 15
µg/m³ ในการทดลองครั้งที่ 2 พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 22 ลงไปถึง 9 µg/m³ โดยเฉลี่ยแล้วค่าฝุ่นลดไป 14
µg/m³ ภายในเวลา 30 นาที นับได้ว่าต้นกวักมรกตสามารถลดฝุ่น PM 2.5 ได้จริง
ต้นว่านหางจระเข้จากนาทีที่ 0 ถึงนาทที่ 30 ในการทดลองครั้งแรก พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 25 ลงไป
ี
ถึง 11 µg/m³ ในการทดลองครั้งที่ 2 พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 23 ลงไปถง 9 µg/m³ โดยเฉลี่ยแล้วค่าฝุ่นลด
ึ
ไป 14 µg/m³ ภายในเวลา 30 นาที แปลว่าต้นว่านหางจระเข้สามารถลดฝุ่น PM 2.5 ได้จริง
ต้นลิ้นมังกรจากนาทีที่ 0 ถึงนาทีที่ 30 ในการทดลองครั้งแรก พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 23 ลงไปถึง 7
µg/m³ ในการทดลองครั้งที่ 2 พบว่าค่าฝุ่นลดจาก 20 ลงไปถึง 8 µg/m³ โดยเฉลี่ยแล้วค่าฝุ่นลดไป 14
µg/m³ ภายในเวลา 30 นาที ถือได้ว่าต้นลิ้นมังกรสามารถลดฝุ่น PM 2.5 ได้จริง
สรุปได้ว่าต้นไม้ทั้ง 4 ต้นสามารถฟอกอากาศได้จริง โดยต้นกวักมรกต ว่านหางจระเข้ ลิ้นมังกร
ประสิทธิภาพในการฟอกอากาศได้ดีพอๆกัน ส่วนต้นพลูด่างมีประสิทธิภาพในการฟอกอากาศได้น้อยกว่า
ทั้ง 3 ต้น
11