Page 66 - 385-67 สถาบันบำบัด P.10
P. 66

   3. จากการที่มีจํานวนผู้ป่วยยาเสพติดมากขึ้น ภาครัฐควรมีการเตรียมการสนับสนุนและ เตรียมงบประมาณและการพัฒนาศักยภาพความรู้ความเข้าใจและทักษะในการดูแลผู้ป่วยยาเสพติดให้แก่ บุคลากรทั้งในโรงพยาบาลและชุมชน รวมถึงการเตรียมพัฒนาศักยภาพของสถานบริการระดับปฐมภูมิ ระดับทุติยภูมิ ระดับตติยภูมิให้มีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยด้านยาเสพติดให้มากขึ้น
กิตติกรรมประกาศ
การดําเนินโครงการครั้งนี้สําเร็จได้ด้วยความช่วยเหลือของภาคีเครือข่ายแกนนําชุมชน อสม. นักบริบาล ที่ร่วมกันดําเนินกิจกรรมป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและพยาบาลวิชาชีพผู้รับผิดชอบงานยาเสพติด ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลพังทุย โรงพยาบาลน้ําพอง โรงพยาบาลมัญจาคีรี ที่ประสานงานอํานวย ความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูลและลงพื้นที่ดําเนินโครงการ ต้องขอขอบคุณทุกท่านเป็นอย่างยิ่งใน การดําเนินงานเป็นพื้นที่ต้นแบบที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการบําบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติดที่มีปัญหา ทางจิตเวชร่วม ที่เป็นวาระแห่งชาติที่ทุกภาคส่วนต้องร่วมกันแก้ไขเพื่อให้ชุมชนปลอดยาเสพติดอย่างยั่งยืน เอกสารอา้ งอิง
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2565). รายงานประจําปี 2565. นนทบุรี. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2566). มาตรฐานการปฏิบัติงาน Standard Operating Procedures
: SOPs การดูแลผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติดที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง Severe Mental
Illness – High Risk to Violence (SMI-V Care). กรุงเทพมหานคร: บียอนด์ พับลิสชิ่ง จํากัด. กองบริหารระบบบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2563). แนวทางการติดตามดูแล
ต่อเนื่องผู้ป่วยจิตเวชสุรา/ยา/สารเสพติด (ฉบับทดลองใช้). กรุงเทพมหานคร: พรอสเพอรัสพลัส จํากัด. กิตติมา ก้านจักร และคณะ. (2564). การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยยาเสพติดที่มีอาการทางจิตและมีความเสี่ยงสูง ต่อการก่อความรุนแรง (SMI-V) แบบบูรณาการจังหวัดขอนแก่น. สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น: ขอนแก่น.
เกษมศานต์ โชติชาครพันธ์ และคณะ. (2562). การประเมินการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามและบําบัดรักษายาเสพติดปี พ.ศ. 2562. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์: กรุงเทพมหานคร.
นิตยา ฤทธ์ศรี และคณะ. (2565). รูปแบบการบําบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นศูนย์กลาง: กรณีศึกษาในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง อําเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม; 2: 50-62.
เพียงเพ็ญ บุญมาธรรม. (2566). ศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยโรคร่วมจิตเวชสารเสพติดใน พ้ืนท่ีอําเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น; วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อมศึกษา; เม.ย.-มิ.ย.66; 42-47.
เยาวเรศว์ นาคะโยธินสกุล, สําเนา นิลบรรพ์ และสุกุมา แสงเดือนฉาย. (2565). โครงการขยายผลโครงการหลวง เพื่อแก้ไขปัญหาพื้นที่ปลูกฝิ่นอย่างยั่งยืน: การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ติดฝิ่นบนพื้นที่สูง. มปท.
64























































































   64   65   66   67   68