Page 75 - 385-67 สถาบันบำบัด P.10
P. 75

    ข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วย
ชนิดยาเสพติดที่เสพ ยาบ้า
ปี 2565 ปี 2566
จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน
126 55.00 28 30.10 154 26 11.00 19 20.40 45 32 13.90 21 22.60 53 13 5.60 9 9.70 22 12 5.00 7 7.50 19 15 6.50 1 1.10 16
รวม ร้อยละ
47.53 13.89 16.36 6.79 5.86 4.94 2.16 0.31 0.31 1.85
83.02
    ไอซ์
กัญชา
สุรา
เคตามีน
เฮโรอีน
กระท่อม 3
ยากล่อมประสาท 0 0 1 1.10 1
     1.30 4 4.30 7
  สารระเหย
อื่นๆ จํานวนยาเสพติดที่เสพ
1 0.40 0 0 1 3 1.30 3 3.20 6
   200 86.58 69 74.20 269 26 11.25 22 23.70 48
1ชนิด
2ชนิด
3ชนิดขึ้นไป 5 2.16 2 2.10
14.81 7 2.16
   รับใหม่
ตึกผู้ป่วยนอก 0 0 19 20.40
ตึกผู้ป่วยใน 231 100 74 79.60 305 94.14
 19 5.86
        จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในที่บ้าน
เพศชาย จํานวน 236 คน (ร้อยละ 72.84) โดยมีอายุอยู่ในช่วง 20-29 ปีมากที่สุด จํานวน 138 คน (ร้อยละ 42.59) ชนิดยาเสพติดที่เสพส่วนใหญ่เป็นยาบ้ามากที่สุด จํานวน 154 คน (ร้อยละ 47.53) จํานวน ยาเสพติดที่เสพ 1 ชนิด จํานวน 269 คน (ร้อยละ 83.02) ส่วนใหญ่รับผู้ป่วยใหม่ที่เข้ามาดูแลจากตึกผู้ป่วยใน จํานวน 305 คน (ร้อยละ 94.14)
ผลการดําเนินงานการดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในที่บ้าน (Home Ward) ในปี 2565-2566 พบว่า อัตราการกลับมารักษาซ้ําแบบผู้ป่วยในภายใน 28 วัน ร้อยละ 18.87 (10 ราย) และ 1.74 (4 ราย) ตามลําดับ ร้อยละการคงอยู่ในระบบบําบัดรักษา 71.86 (166 ราย) และ 89.25 (83 ราย) ตามลําดับ ร้อยละ ความพึงพอใจของผู้ป่วย 80.95 (187 ราย) และ 86.02 (80 ราย) ตามลําดับ ร้อยละความพึงพอใจของ ครอบครัว 87.44 (202 ราย) และ 88.17 (82 ราย) ตามลําดับ ในปี2566 คุณภาพชีวิตโดยรวมของผู้ติดยาเสพติด อยู่ในระดับดี ร้อยละ 60 (138 ราย)
(Home ward) ส่วนใหญ่เป็น
73


































































   73   74   75   76   77