Page 77 - 385-67 สถาบันบำบัด P.10
P. 77
ข้อเสนอแนะ
1. ผู้ที่บําบัดต้องมีความรู้พื้นฐานในการบําบัดผู้ใช้ยาและสารเสพติดการให้คําปรึกษาเบื้องต้นและ การเสริมสร้างแรงจูงใจในผู้ป่วยยาเสพติด เพื่อสามารถนําความรู้และทักษะในการบําบัดรักษาและ ฟื้นฟูสมรรถภาพไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในที่บ้าน (Home ward)
2. การประเมินความพร้อมของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วยที่บ้านเป็นสิ่งสําคัญ รวมถึงข้อมูล สถานพยาบาลที่อยู่ใกล้เคียงเพื่อให้ประเมินอาการ ส่งต่อการรักษาในกรณีเกิดเหตุการณ์จากอาการไม่พึงประสงค์ เช่น Extrapyramidal symptom (EPS) จากยากลุ่ม Antipsychotics drug
3. ในกรณีผู้ป่วยเสพยาเสพติดซ้ําและมีอาการแทรกซ้อนจิตเวชรุนแรงมีความจําเป็นต้องส่งต่อไป รักษาในโรงพยาบาลที่มีศักยภาพสูงขึ้นแบบไร้รอยต่อ สถานพยาบาลควรจัดทําแนวทางการส่งต่อผู้ป่วย มีระบบการปรึกษาโรงพยาบาลในเครือข่าย เพื่อประเมินและส่งต่อผู้ป่วยไปรักษาต่อในโรงพยาบาลที่มีศักยภาพสูงได้ เอกสารอ้างอิง
ปิยะธิดา หาญสมบูรณ์ (บรรณาธิการ). (2565). แนวทางและมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยในที่บ้าน (Home ward). กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.
วีรพล ชูสันเทียะ และสมเดช พินิจสุนทร. (2560). ผลกระทบการใช้ยาเสพติดในผู้รับการบําบัดรักษา ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์อุดรธานี: กรณีศึกษา. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน, 5(3), 523-533.
สถาบันบําบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี (สบยช.). (2567). ข้อมูลสถิติปี 2564-2566. สืบค้นเมื่อ มกราคม 4, 2567, เข้าถึงข้อมูลจาก http://www.pmnidat.go.th/thai/index.php?option=com_ content&task=category§ionid=2&id=9&Itemid=53.
สถาบันบําบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี และโรงพยาบาลธัญญารักษ์ภูมิภาค. (2564).
องค์ความรู้พื้นฐาน : การบําบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาและสารเสพติดแบบผู้ป่วยนอกตามรูปแบบ
เมทริกซ์โปรแกรม. สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Meleis, A. (2010). Transitions theory: Middle-range and situation-specific theories in nursing research and
practice. New York, NY: Springer Publishing Company. UNODC.(2023).WorldDrugReport.RetrievedOctober30,2023, fromhttps://www.unodc.org/unodc/en/data-
and-analysis/Exsum_wdr2023.html
75