Page 109 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 109

                5.1.1.2 การใชคํากริยาและทัศนภาวะ
การปรากฏของคํากริยาในประโยคซึ่งจะมีความสัมพันธกับคํา ที่ปรากฏรวมในประโยคนั้นดวย ไมวาจะเปนคํานาม คําขยาย รวมท้ัง ทัศนภาวะ (modality) ที่จะขยายคํากริยาที่แสดงมุมมอง และทัศนคติของ ผูพูด สามารถสื่อความหมายเกี่ยวกับเนื้อหาที่ผูพูดตองการนําเสนอได อยางชัดเจนมากขึ้น เนื่องจากคํากริยาจะสื่อถึงการกระทํา เหตุการณ สภาพ ของเหตุการณของสิ่งที่ตองการกลาวถึง ดังนั้นในการวิเคราะหการใช คํากริยาจะตองพิจารณาทั้งโครงสรางของประโยคที่มีคํากริยาเปนตัวหลัก ในการสื่อความของขอความน้ัน ๆ
จากการวิเคราะหเนื้อเพลงหาเสียงของพรรคการเมืองตาง ๆ พบวาคํากริยาท่ีพบมักจะเก่ียวของกับการเปล่ียนแปลงเปนคําที่มีความหมาย ในทางที่ดี เชน ความแข็งแรง ความร่ํารวย ความรุงเรือง และมักปรากฏ รวมกับทัศนภาวะที่แสดงความมั่นใจ และสิ่งที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต เชน จะ ตอง จะตอง อยูหนาคํากริยา
ตัวอยาง
(19) “ประเทศไทยจะตองเปลีี่่ยนแปลง จะตองแข็็งแรงเพื่อ กาวทัันโลกน”ี้
(พรรคเพ่ือไทย, เพลงเพื่อไทยแลนดสไลด) (20) “ประเทศไทยจะตองรุุงเรืือง”
(พรรคเพ่ือไทย, เพลงเพื่อไทยแลนดสไลด)
จากตัวอยางที่ (19) และ (20) จะเห็นไดวาคํากริยาที่ใชประกอบ กับ ประเทศไทย นั้นสื่อไปในทางบวก เชนคําวา เปลี่ยนแปลง แข็งแรง และ รุงเรือง สิ่งที่นาสังเกตอีกประการคือการเลือกที่จะนําคํากริยา “แข็งแรง” ซึ่งปกติใชกับบุคคลหรือสิ่งมีชีวิตมาใชคูกับ “ประเทศไทย” สิ่งเหลานี้
101
    

























































































   107   108   109   110   111