Page 144 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 144

                มากมายกลับมีเหลาผูคนอีกสวนหนึ่งที่กําลังถูกความเงียบเหงากลืนกินอยาง หาทางออกไมได
จักรวาลสมมตินีไ้ ดถายทอดบรรยากาศของความวางเปลาในจติ ใจ ผานการตองเผชิญกับภาวการณส ูญเสียการไดยินในยามฝนตกของตัวละคร ซึ่งคลายจะตอกย้ําถึงความโดดเดี่ยวที่ถูกฝงกลบอยูภายในเศษเสี้ยว ความรูสึกของผูคน ทั้งตัวผูเขียนเองและเหลาผูอาน ถึงแมมนุษยทุกคนจะ ดํารงอยูในสังคมที่เต็มไปดวยผูคนมากมายรายลอมเพียงใดก็ตาม แตทุกคน กลับรับรูความจริงนั้นดี ความจริงที่วาตัวเราจะมีเพียงตัวเราเทานั้นที่คอย โอบกอดความเดียวดายของตนไว
จากบทความหน่ึงบนเว็บไซต The MATTER ที่มีชื่อวา ‘ความเหงา เชิงโครงสราง การเมือง และการออกแบบเมือง’ (Tomorn Sookprecha, 2561 : ออนไลน) ไดมีการนําเสนอถึงแงมุมทฤษฎีความเหงาของนักวิทยา ศาสตรดานประสาทวิทยาทานหน่ึงจากมหาวิทยาลัยชิคาโก จอหน คาเชียพ โพ (John Cacioppo) โดยในป 2006 จอหนไดเสนอทฤษฎีทางจิตวิทยา วิวัฒนาการขึ้นมาทฤษฎีหนึ่ง ซึ่งทฤษฎีนี้ไดอธิบายไววา “ความเหงา” เปน เรื่องจําเปนตอวิวัฒนาการของมนุษย เขาบอกวา ในฐานะที่มนุษยเปนสัตว สังคม เราอยูรอดมาไดไมใชแคเพราะเราแข็งแรง เหมาะสม หรือมีอาวุธท่ี ธรรมชาติใหมาอยางสมองเทาน้ัน แตสิ่งหน่ึงที่ธรรมชาติมอบใหเรามาดวยก็ คือ การปกปองทางสังคม หรือ Social Protection ที่เกิดขึ้นจากความรูสึก เหงา ความแข็งแกรงของเผาพันธุมนุษยอยูตรงความสามารถในการสื่อสาร และทํางานรวมกัน แตคําถามก็คือ อะไรทําใหมนุษยมารวมตัวกันกอเปน ชุมชน (หรือฝูง) ท่ีมีพลังไดต้ังแตตนเลา “สิ่งน้ันก็คือ ความเหงา”จอหนกลาว
ทฤษฎีของเขาไดนําเสนอใหเห็นวา ความเจ็บปวดของการตองอยู ลําพังเปนตัวขับเคลื่อนมนุษยเราใหเสาะหา ‘ความเปนเพื่อน’ (Companion ship) ดวยการมารวมตัวกันเปนฝูง ซึ่งจะชวยสรางความปลอดภัยบางอยาง 136































































































   142   143   144   145   146