Page 146 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 146

                เหงาจะเปนเครื่องมือท่ีชวยใหมนุษยมีวิวัฒนาการอยูรอดมาไดแลวน้ัน ในอีก มิติหนึ่ง ความเหงาเองก็มีวิวัฒนาการในรูปแบบของตนดวยเหมือนกัน เขา เรียกทฤษฎีความเหงานี้วา ‘Evolutionary Theory of Loneliness’ หรือ ETL ซึ่งสงผลใหความเหงาสมัยใหมมีรูปแบบที่แตกตางจากความเหงาสมัย ดึกดําบรรพ และอาจเปนทฤษฎีที่สามารถนําไปใชอธิบายถึงสาเหตุของ แนวโนมการเพิ่มขึ้นของความเหงาในมนุษย ซึ่งจอหนไดกลาววา ในสังคม สมัยใหมนั้น เมื่อคนเราสมาทานอุดมคติแบบปจเจกนิยมและสามารถมีชวี ิต อยูแบบโดดเดี่ยวไดโดยไมตองพึ่งพาฝูงเพื่อความอยูรอดดังในอดีต เชน การ ดํารงชีวิตอยูในสังคมเมืองสมัยใหมที่ไมจําเปนตองดําเนินชีวิตตามวิถีหรือ ประเพณีดั้งเดิม ไมวาจะเปนการรวมแรงไปลาสัตว หรือการลงแขกเก่ียวขาว ก็ตาม เชนน้ันเราจึงไมจําเปนตองดํารงอยูภายใตความเปนชุมชน ซึ่งในแงมุม หนึ่งอาจมองวาเปนความอิสระ ไรกฎเกณฑหรือขนบของชุมชนที่อาจรัดรึง ผูกติดชีวิตเขาไวดวยกัน แตในอีกแงมุมหนึ่งก็อาจมองวา เปนสิ่งที่สงผลให มนุษยเราไมมีความเปนชุมชน ขาดความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน อันสงผลไป ถึงความจําเปนที่จะตองรับผิดชอบตอสวัสดิภาพของตนเอง ซ่ึงไดสืบเน่ืองไป ถึงการเกิดข้ึนของแนวคิดของมนุษยที่มกี าร ‘เอาตัวเองเปนศูนยกลาง’ โดย จอหนและคณะไดรายงานถึงสิ่งนี้ไวในวารสาร Personality and Social Psychology Bulletin วา “ความเหงานั้นเกี่ยวของกับการเอาตัวเองเปน ศูนยกลาง (Self-Centeredness) อยางท่ีหลายคนอาจคิดไมถึง”
จากบทความในขางตนไดสะทอ นใหเห็นวา ความเหงาที่เกิดขึ้นใน สังคมยุคปจจุบันเปนความเหงายุคใหม ซึ่งไดเกิดขึ้นและดํารงอยูในสังคม รูปแบบสมัยใหม อันเปนความเหงาที่มีปจจัยของการเกิดขึ้นมากมาย ไมวา จะเปนโครงสรางทางสังคม การเมือง สภาพแวดลอมทางสังคม กระแสสังคม ที่สงอิทธิพลตอสังคม หรือแมแตสถานภาพของผูคนในสังคมก็ตาม หาใช ปจจัยแบบปจเจกเฉกเชนในอดีตไม และถึงแมนวนิยายภายใตกลไกการ 138

































































































   144   145   146   147   148