Page 145 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 145

                ใหเกิดข้ึน ความเหงาจึงเปนความรูสึกท่ีดํารงอยูกับมนุษยชาตเิ รื่อยมา เพราะ มันเปนปจจัยท่ีจําเปน ซึ่งจะนําไปสูการเปนสัตวสังคมของเหลามนุษย
นอกจากนี้ยังมีรายงานการศึกษาของสตีฟ โคล (Steve cole) (อางถึงใน Tomorn Sookprecha, 2561 : ออนไลน) นักวิจัยดานพันธุ ศาสตร จากมหาวิทยาลัยแหงรัฐแคลิฟอรเนียในลอสแองเจลิสที่กลาววา คน ที่มีความเหงานั้นจะมีระดับของสารนอรอีพิเนฟริน (Norepinephrine) ใน เลือดสูงกวาคนปกติทั่วไป ซึ่งสารนี้มักจะเกิดขึ้นกับบุคคลที่ตกอยูใน สถานการณถึงเปนถึงตาย จึงไดมีการกระตุนใหรางกายตื่นตัว รวมถึงผลิต เซลลเม็ดเลือดขาวออกมา รวมท้ังไปปดก้ันระบบภูมิคุมกันดวย ดังนั้นโคลจึง ไดอภิปรายผลการศึกษาไววา คนที่มีความสัมพันธทางสังคมแข็งแรง กลาว คือ ไมไดเปนบุคคลที่มีความเหงาก็มักจะเปนบุคคลที่มีภูมิคุมกันแข็งแรงไป ดวย การศึกษาของเขาจึงเปนเครื่องยืนยันไดวา ความเหงานั้นเกี่ยวพันกับ ระบบในรางกายซึ่งก็จะสัมพันธไปกับวิวฒั นาการของมนุษยเชนกันและไม วาอะไรก็ตามที่สัมพันธกับวิวัฒนาการของมนุษยน้ัน ก็มักจะเกิดข้ึนควบคูไป กับปจจัยที่เกี่ยวของกับสังคมดวย ดวยเหตุที่วามนุษยเราเปนสัตวสังคมที่มี วิวัฒนาการรวมกัน ซึ่งเมื่อมีการดํารงอยูของสังคม สิ่งที่เรียกวา ‘อํานาจ’ หรือ ‘การเมือง’ ก็มักจะเขามามีบทบาทเกี่ยวของดวยเสมอ และเมื่อมีการ กลาวถึงการเมืองและสังคม ก็เปนไปไดอีกเชนกันที่ความเหงาจะไมไดเปนแค ปญหาของปจเจกอีกตอไป โดยเฉพาะการเกิดขึ้นของ ‘ความเหงายุคใหม’ หรือ Modern Loneliness อาจสะทอนถึงการเกิดขึ้นของความเหงาที่เปน เพราะ ‘โครงสราง’ ของสังคมที่มนุษยทุกคนจําเปนตองดํารงอยู ซ่ึงไดเอื้อให เกิด ‘ความเหงา’ ขึ้นภายในจิตใจอยางที่ไมเคยเกิดขึ้นมากอนในประวัติ ศาสตรวิวัฒนาการและการดํารงอยูของมนุษย
ไมเพียงเทานั้นจอหน คาเชียพโพ (John Cacioppo) (อางถึงใน Tomorn Sookprecha, 2561 : ออนไลน) ยังไดกลาวอีกวา นอกจากความ 137
































































































   143   144   145   146   147