Page 46 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 46

                3.1 ขอมูลของการศึกษา
ขอมูลที่นํามาวิเคราะหตัวบทการวิจารณ กําหนดเฉพาะตัวบท วิจารณภาพยนตรจํานวน 8 ตัวบท โดยวิเคราะหทั้งสวนที่เปนวัจนภาษา และอวัจนภาษา ไดแก รูปภาพประกอบ สีตัวอักษร และลักษณะของ ตัวอักษร (Font)
3.2 วิธีดําเนินการวิจัย
1) ศึกษาแนวคิดและเอกสารงานวิจัยที่เก่ียวของ
2) คัดเลือกขอมูลตัวบทการวิจารณ โดยเลือกตัวบทที่วิจารณ
ภาพยนตรที่ผูเขียนกําหนดหัวขอวา วิจารณภาพยนตร
3) วิเคราะหรูปแบบการนําเสนอและกลวิธีทางภาษา โดยพิจารณา
ลักษณะเดนที่ปรากฏรวมกันจากทุกตัวบท 4) สรุปและอภิปรายผล
4. ทบทวนวรรณกรรมหรืือเอกสารงานวจิิ ััยที่่ีเกี่่ียวของ กลวิธีทางภาษาในขอความ หมายถึง ภาษาท่ีคนเราเลือกใชส่ือสาร
ในตัวบทซึ่งมีเจตนาและอํานาจเชิงความคิดบางอยางแฝงอยูดวย Van Dijk, 1997 (ณัฐพร พานโพธิ์ทอง, 2556) เทคนิคและวิธีการตาง ๆ ที่ใชในการส่ือ ความหมาย และบรรลุเปาหมายการสื่อสารที่เฉพาะเจาะจงภายในบริบท ที่กําหนด ขอความในบริบทนี้ครอบคลุมถึงการใชภาษาในหนวยการสื่อสาร ที่ใหญขึ้น เชน การสนทนา สุนทรพจน ขอความประชาสัมพันธ ขอความ โฆษณา หรือขอความลายลักษณอักษรที่ซอนความหมายหรือความคิด บางอยาง ตองอาศัยการตีความและอธิบายจึงจะเขาใจความหมายที่สื่อ ในขอความ ซึ่งการอธิบายลักษณะขอความที่มีวัตถุประสงคเชนนี้เรียกวา กลวิิธีี (จันทิมา อังคพณิชกิจ, 2562)
38
























































































   44   45   46   47   48