Page 48 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 48

                5. ผลการศึึกษา จากการวิเคราะหกลวิธีทางภาษาในตัวบทวิจารณภาพยนตร
ที่นํามาศึกษา จํานวนทั้งสิ้น 8 ตัวบท ผลการศึกษาพบวา ตัวบทวิจารณ ภาพยนตร มีการใชกลวิธีทางภาษาที่ทําใหลักษณะเดนของตัวบทประเภท ทรรศนะมีองคประกอบท่ีหลากหลายโดยสามารถอธิบายได ดังน้ี
5.1 กลวิธีดานศัพท
กลวิธีดานศัพทที่พบในตัวบทวิจารณภาพยนตร พบวามีหลาย ลักษณะ เชน การใชชื่อเรียก การเรียกขาน การอางถึง การใชคํากริยา ตัวอยางประกอบท่ีพบมีอยูมาก จึงขอยกมากลาวบางสวน
5.1.1 การอางถึง (Referencing)
การอางถึงเปนกลวิธีที่ใชเพื่อแสดงการเชื่อมโยงสัมพันธระหวาง สิ่งที่เปนจุดอางอิง (Referent point) กับสิ่งที่อางถึง (Referencing) ทําให เห็นมุมมองของบุคคลที่เปนผูพูดในที่นี้ คือ ผูวิจารณภาพยนตรมีมุมมอง ตอสิ่งที่อางถึงอยางไร โดยพิจารณาไดจากกลวิธีทางภาษาที่ใชอางถึง ในการวิจารณภาพยนตร จะเห็นวาผูวิจารณเลือกใชศัพทที่อางถึงบุคคล ที่เปนนักแสดงและตัวละครในภาพยนตรที่วิจารณในลักษณะตาง ๆ กัน เพื่อบงชี้ (Deixis) ไปที่ตัวละครหรือนักแสดงดังกลาววามีบุคลิกลักษณะ พฤติกรรมหรือบทบาทอยางไรในเรื่อง กลไกการอางถึง สวนใหญเปน การอางถึงแบบจุดอางอิงอยูกอนคําท่ีอางถึง (Anaphoric) หรือกลาวอีกอยาง ก็คือ เปนการใชศัพทเพื่อแทนที่สิ่งที่ไดกลาวอางอิงมากอนแลว และมี บางสวนท่ีเปนการอางถึงแบบจุดอางอิงอยูหลังคําที่อางถึง (Cataphoric)
40




























































































   46   47   48   49   50