Page 47 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 47

                กลวิธีทางภาษาศาสตรในขอความมีองคประกอบที่หลากหลาย ในการผลิตตัวบท มีทั้งรูปแบบวัจนภาษาและอวัจนภาษา โดยกลยุทธ นําเสนอครอบคลุมถึงกลวิธีการจดั วางตําแหนง การใชสี การใชเครื่องหมาย ฯลฯ วิธีการส่ือสารมักสัมพันธกับวิธีคิด นําไปสูการเลือกใชถอยคํา ไวยากรณ รูปแบบ และขอความ ผูพูดหรือผูเขียนสามารถถายทอดวัตถุประสงคที่ตั้งใจ ไวไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน โนมนาวใจผูฟง แสดงทัศนคติ และสํารวจ ปฏิสัมพันธทางสังคม เปนตน
แนวทางและการวิเคราะหขอความมีผลตอกลวิธีทางภาษา เชน ถาเจาะจงดานลักษณะภาษาก็อาจจะเลือกใชการใชคําศัพทเปนกลยุทธหนึ่ง ที่เกี่ยวของกับการเลือกคําหรือวลีเฉพาะเพื่อสื่อความหมายเฉพาะหรือ กระตุนอารมณเฉพาะ ตัวอยาง เชน การใชคําศัพทที่เปนทางการหรือ คําศัพททางเทคนิคสามารถบงบอกถึงความเชี่ยวชาญ ในขณะที่ภาษา ที่กระตุนอารมณสามารถดึงดูดอารมณของผูฟงได และหากตองการทราบถึง เจตนาของขอความ สามารถใชหลักการทางวัจนปฏิบัติศาสตร เชน วัจนกรรม เพ่ือบงบอกถึงเจตนาของผูสงสารวามีลักษณะอยางไร
นอกจากนี้ยังมีแนวทางและกลวิธีอีกมาก การทําความเขาใจและ ใชกลวิธีทางภาษาเหลานี้อยางมีประสิทธิภาพ สามารถชวยสื่อสารและชวย ใหบรรลุผลลัพธที่ตองการในสถานการณตาง ๆ และยังชวยปองกันผลลัพธ จากวัตถุประสงคแอบแฝงในทางท่ีไมดีไดเชนกัน จากท่ีกลาวมาเพ่ือใหเขาใจ กลวิธีภาษาในขอความมากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงขอนําแนวทางกลวิธีภาษา ในขอความของ จันทิมา อังคพณิชกิจ (2562) จากหนังสือ Discourse Analysis การวิเคราะหขอความ มาเปนแนวทางในการอธิบายในลําดับตอไป
39































































































   45   46   47   48   49