Page 81 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 81

                อาศัยกลไกทางสหบทแบบแฝงหรือสหวาทกรรมที่เกี่ยวของกับภาพยนตร ที่ตนกําลังวิจารณนั้นดวย
5.5 กลวิธีดานสัญญะ
การใชสื่อที่ไมใชถอยคํา (nonverbal) เพื่อสื่อความหมายตาม แนวคิดของเดอ ซอซูร (de Saussure) จัดวาเปนการใชระบบสัญญะชนิด หนึ่ง ภายหลังไดรับการพัฒนากลายเปนแนวคิดเชิงสัญศาสตร (Semiotics) และนําไปสูการศึกษาตัวบทที่มีรูปแบบหลากหลาย ที่เรียกวาขอความหลาก รูปแบบ (multimodal discourse) (จันทิมา อังคพณิชกิจ, 2562) เชน ในขอความมีภาพ แสง สี เสียง การใชพื้นที่ และการจัดวางตําแหนง การวิเคราะหวาทกรรมสื่อหลากรูปแบบ (Multimodal Discourse Analysis) จึงเนนเรื่องการจัดวางองคประกอบของรูปภาพและขอความ เพื่อใชสื่อความหมายที่จันทิมา อังคพณิชกิจ (2562) นํามาใชอธิบายเรื่อง กลวิธีทางสัญญะ และไดมีไวยากรณของส่ือสัญญะท่ีไดรบั การพัฒนาแนวคิด การอานภาพ (Reading Images) จาก Kress and van Leeuwen (2006) ที่นําเสนอองคประกอบของการอานภาพวาประกอบดวยองคประกอบหลัก 4 ประการ ไดแก ขอความเกา (Given information) ขอความใหม (New information) สิ่งที่เปนอุดมคติ (Ideal) และสิ่งที่เปนจริง (Real) ขอความ เกา (given) คือ สาระหรือสิ่งที่ผูอานทราบอยูแลว ขอความใหม (new) คือ ขอมูลใหมท่ีคาดวาผูอานยังไมทราบ และนาจะไดทราบหรืออาจเปนบาง สิ่งที่ผูเขียนคิดวาผูอานใหความสนใจเปนพิเศษ สิ่งที่เปนอุดมคติ (ideal) คือ เนื้อหาที่มีลักษณะเรื่องเปนนามธรรม เชน สัญลักษณ เครื่องหมาย สิ่งที่เปนความจริง (real) คือ ขอมูลที่เปนขอเท็จจริง รายละเอียด เฉพาะเจาะจงที่เปนรูปธรรม เนนใหเกิดการกระทํา เชน ขอความบอก สถานที่ เวลาที่เกิดเฉพาะเจาะจงของเหตุการณ ที่อยูที่ติดตอได เปนตน
73































































































   79   80   81   82   83