Page 2 - รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย สค31001
P. 2
1. ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
รัฐธรรมนูญ(Constitution) หมายถึงกฎหมายสูงสุดในการจัดการปกครองรัฐถ้าแปลตามความค าจะหมายถึงการ
ปกครองรัฐอย่างถูกต้องเป็นธรรม (รัฐ + ธรรม + มนูญ)ในความหมายอย่างแคบ “รัฐธรรมนูญ” ต้องมีลักษณะเป็นลาย
ั
ลักษณ์อกษรและไม่ใช่สิ่งเดียวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ (Constitutional Low) “เพราะกฎหมายรัฐธรรมนูญ” มี
ั
ความหมายกว้างกว่าและจะเป็นรูปแบบลายลักษณ์อกษรหรือจารีตประเพณีก็ได้สหรัฐอเมริกาและฝรั่งเศสเป็นประเทศ
แรกๆที่ร่างรัฐธรรมนูญขึ้นมาในภาษาของประเทศทั้งสองค าว่ารัฐธรรมนูญต่างใช้ค าว่า (Constitution ซึ่งแปลว่าการ
สถาปนาหรือการจัดตั้งซึ่งหมายถึงการสถาปนาหรือการจัดตั้งรัฐนั่นเองโดยทั้งสองประเทศมีรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์
ั
อักษรแต่ประเทศอังกฤษไม่มีรัฐธรรมนูญที่เป็นลายลักษณ์อกษรมีแต่จารีตประเพณีหรือ “ธรรมเนียมทางการปกครอง” ที่
กระจายอยู่ตามกฎหมายค าพพากษาต่างๆรวมทั้งธรรมเนียมปฏิบัติที่สืบทอดกันมาจนกลายเป็นจารีตประเพณีซึ่งถือเป็น
ิ
กฎหมายรัฐธรรมนูญที่สืบทอดมาจากประวัติศาสตร์ของชาตินั่นเอง
หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ดร.ปรีดีพนมยงค์) ได้อธิบายว่า “กฎหมายธรรมนูญการปกครองแผ่นดินเป็นกฎหมายที่
บัญญัติถึงระเบียบแห่งอ านาจสูงสุดในแผ่นดินทั้งหลายและวิธีการด าเนิน การทั่วไปแห่งอ านาจสูงสุดในประเทศ”
ั
ุ
ศาสตราจารย์หยุดแสงอทัยท่านอธิบายว่าหมายถึง “กฎหมายที่ก าหนดระเบียบแห่งอานาจสูงสุดในรัฐและความสัมพนธ์
ระหว่างอ านาจเหล่านี้ต่อกันและกัน”ประเทศไทยเริ่มใช้รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศเมื่อเกิดการ
ปฏิวัติโดยคณะราษฎรเพอเปลี่ยนแปลงการปกครองประเทศจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบ
ื่
ประชาธิปไตยโดยอันมีพระมหา กษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขที่ทรงอยู่ใต้รัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 24
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญให้แก่ปวง
ชนชาวไทยตามที่คณะราษฎรได้น าขึ้นทูลเกล้าฯถวายให้ทรงลงพระปรมาภิไธยนอกจากนี้พระองค์ก็ทรงมีพะระราช
ประสงค์มาแต่เดิมแล้วว่าจะพระราชทานรัฐธรรมนูญให้เป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศแก่ประชาชนอยู่แล้วจึง
เป็นการสอดคล้องกับแผนการของคณะราษฎรประกอบกับพระองค์ทรงเห็นแก่ความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองและ
ความสุขของประชาชนเป็นส าคัญยิ่งกว่าการด ารงไว้ซึ่งพระราชอ านาจของพระองค์รัฐธรรมนูญที่คณะราษฎรได้
น าขึ้นทูลเกล้าฯถวายเพอทรงลงพระปรมาภิไธยมี 2 ฉบับคือพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว
ื่
พ.ศ. 2475 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยามพ.ศ. 2475ต่อมาเมื่อเกิดความขัดแย้งระหว่างพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับคณะราษฎร์จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ตัดสินพระทัยสละราชสมบัติ เมื่อ
วันที่ 2มีนาคม พ.ศ. 2477 โดยทรงมีพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติ จากพระราชหัตถเลขาสละราชสมบัติ มีข้อความที่
ั
ถือว่าเป็นหลักการส าคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยว่า “ข้าพเจ้าเต็มใจที่จะสละอานาจอนเป็นของข้าพเจ้า
ื่
อยู่แต่เดิม ให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอ านาจทั้งหลายของข้าพเจ้าให้แก้ผู้ใดคณะใด โดยเฉพาะเพอใช้
อ านาจนั้นโดยสิทธิขาดและโดยไม่ฟังเสียงอันแท้จริงของประชาราษฎร”
นับแต่ปี พ.ศ. 2475 เป็นต้นมาจนถึงปี พ.ศ. 2552 ประเทศไทยมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญมาแล้ว รวม 18 ฉบับ ดังนี้