Page 3 - ไฟฟ้ากระแส วรัญญู 522
P. 3

14.4 การต่อตัวต้านทานและแบตเตอรี่


                       14.4.1 การต่อตัวต้านทาน


               การต่อตัวต้านทาน ทำได้ 2 รูปแบบ คือการต่อแบบอนุกรม (series) และการต่อแบบขนาน (parallel)










               ในวงจรไฟฟ้าที่มีตัวต้านทานต่อแบบอนุกรม พบว่า


                   1.  กระแสไฟฟ้าในวงจรเท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว
                   2.  ความต่างศกย์ระหว่างปลายของตัวต้านทานที่ต่อแบบอนุกรมเท่ากับผลบวกของความต่างศักย์
                                ั
                       ระหว่างปลายของตัวต้านทานแต่ละตัว


               ในวงจรไฟฟ้าที่มีตัวต้านทานต่อแบบขนาน พบว่า


                   1.  กระแสไฟฟ้าในวงจรเท่ากับผลบวกของกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว

                                ั
                   2.  ความต่างศกย์ระหว่างปลายของตัวต้านทานแต่ละตัวเท่ากับความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัว
                       ต้านทานที่ต่อแบบขนาน


               ความต้านทานสมมูลของตัวต้านทานที่ต่อแบบอนุกรม











                                                =    +    +    + … +    
                                                               3
                                                    1
                                                          2
                                                                             

               ความต้านทานสมมูลของตัวต้านทานที่ต่อแบบขนาน











                                             1     1     1     1          1
                                               =     +     +     + … +
                                                     1     2     3            
   1   2   3   4   5   6   7   8