Page 4 - ไฟฟ้ากระแส วรัญญู 522
P. 4
การประยุกต์ความรู้เรื่องการต่อตัวต้านทาน
ก.การแบ่งศักย์
ความรู้เรื่องการต่อตัวต้านทาน แบบอนุกรม นำไปใช้ในการแบ่งความต่างศักย์ เรียกว่า ตัวแบ่งศักย์
= 2
+ 2
1
คือ เป็นความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน R และ R ที่ต่อแบบอนุกรม
คือ เป็นความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน R
ข.การแบ่งกระแสไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าในวงจรจะถูกแบ่งผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว ตัวต้านทานที่ทำหน้าที่นี้ เรียกว่า ตัวแบ่ง
กระแส (current divider)
้
้
เมื่อพิจารณากระแสเข้าและออกที่จุด a จะได้ = + หรือกล่าวได้ว่า กระแสไฟฟาที่เขาจุด a
1
2
เท่กับผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ออกจากจุด a
เมื่อพิจารณากระแสเข้าและออกที่จุด b จะได้ + = หรือกล่าวได้ว่า ผลบวกของ
1
2
กระแสไฟฟ้าที่เข้าจุด b เท่ากับกระแสไฟฟ้าที่ออกจากจุด b
ผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่เข้าจุดใด ๆ ในวงจรเท่ากับผลรวมของกระแสไฟฟ้าที่ออกจากจุดนั้น
เสมอ ซึ่งแสดงว่าประจุไฟฟ้าที่ผ่านจุดต่างๆในวงจรมีค่าคงตัว จึงเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า