Page 5 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 5

                            1.3 อุปกรณ์แจ้งเหตุฉุกเฉิน (Fire / Emergency Alarm)
สําารวจว่าเป็นแบบไหน ทําางานอย่างไร อยู่ที่ใด จําานวนเท่าไร และ ใช้อย่างไร
2. หาทางหนี
ตรวจสอบทางออก (อย่างน้อย 2 ทาง) บันไดหลัก บันไดหนีไฟ หน้าต่าง ระเบียง และอุปกรณ์ในการหนีไฟอื่นๆ ว่าเป็นแบบ ใด อยู่ที่ใด จําานวนเท่าไร และใช้อย่างไร
3. มีการซ้อม
เมื่อเข้าพักอาศัย หรือทําางานในอาคารสูง ควรฝึกซ้อมการหนีไฟ ด้วยตนเอง โดยให้หลับตา หรือขณะท่ีมืด
สนิท ทําาการซ้อมหนีออกจากอาคารจดจําา
ตําาแหน่งของกุญแจห้อง (นําากุญแจห้องพัก ติดตัวไปด้วยทุกคร้ังท่ีออกจากห้อง) ไฟฉาย
หน้ากากกันควันอยู่ไหน ประตูเปิดอย่างไร
ซ้อมให้ชําานาญ ถ้าเป็นอาคารท่ีท่านอยู่อาศัยถาวร ควรจัดให้มีการซ้อม อพยพทุก 6 เดือน และกําาหนดจุดนัดพบ (จุดรวมพล) ถาวรเอาไว้ด้วย 2 จุด
4. พร้อมแจ้งภัย
เมื่อพบเหตุไฟไหม้ ให้แจ้งเหตุ โดย ตะโกนบอกให้คนมาช่วยท่านต้องการทราบ ว่าจะโทรศัพท์ไปแจ้งท่ีไหนในอาคาร กดปุ่ม สัญญาณเตือนภัยที่ไหน...อย่างไร! ก่อนท่ีจะ เข้าทําาการระงับเหตุ (ถ้าสามารถทําาได้)
5. ให้รีบเผ่น
หนีให้เร็ว อย่างปลอดภัย อย่าห่วง ทรัพย์สิน...ห่วงชีวิต เดินชิดขวาเอาไว้ (เวลา สวนกัน) แล้วไปที่จุดนัดพบ (จุดรวมพล)
6. เน้นปิดภัย
ปิดประตูหน้าต่างห้องที่เกิดเพลิงไหม้ ให้สนิทที่สุด ถ้าทําาได้ (ต้องแน่ใจว่าไม่มีใคร ติดอยู่ข้างใน) เพ่ือป้องกันการลุกลาม
7. อย่าสันสน
ควบคุมสติให้ดี อย่าตื่นเต้นจนทําาอะไร ไม่ถูก พิจารณาหาทางออกอย่างปลอดภัย ใช้หลังมือแะสําารวจความร้อนของห้องที่ จะออกไป และสังเกตว่ามีไฟไหม้อยู่หรือ เปล่า ถ้ามีความร้อนอย่าเปิดประตู ให้เปิด หน้าต่างหาทางส่งสัญญาณให้คนมาช่วย
8. หาคนช่วย
พยายามทําาให้คนข้างนอกรู้ว่า เราติด
อยู่ในอาคาร ถ้าไฟลามมาถึงห้องเราแล้วออกไปไม่ได้...ให้ใช้ผ้าชุบนํา้า อุดใต้ประตูหรือช่องโหว่ไม่ให้ควันเข้า ก่อนส่งสัญญาณทางหน้าต่าง ด้วยการโบกผ้าและตะโกน (ควันไฟทําาให้เสียชีวิตก่อนสิ่งอื่นใด)
9. ช่วยตนเอง
โอกาสสุดท้าย หาทางออกโดยการใช้
หน้ากากฉุกเฉิน ถุงพลาสติกใสใหญ่ ตัก
อากาศบริสุทธิ์ครอบหัว ผ้าชุบนํา้าปิดจมูก
พร้อมผ้าห่มชุบนํา้าชุ่มๆ ฝ่าความร้อนโดยว่ิง
ต่ําาหรือหมอบคลาน ถ้าอยู่ในอาคารสูง ใช้รอกหนีไฟ หรือสายฉีดน้ําาดับ เพลิง หรือเชือก หรือฉีกผ้าปูที่นอนต่อเป็นเชือกลงทางหน้าต่าง (จําาไว้ ว่าอากาศร้อน 150 องศาเซลเซียส ทําาให้ปอดสุก)
10. เจ๋งหรือจ๋อย
อย่าใช้ลิฟต์เวลาเกิดเพลิงไหม้ ทําาใจ เสียเถอะว่า...แล้วแต่บุญแต่กรรม แล้วแต่
วาสนาท่ีต้องอยู่ในที่ๆ มีภัย ควรเลือกท่ีอยู่
ที่ทําางาน ที่ปฏิบัติตามกฎหมาย มีอุปกรณ์ และมาตรการความปลอดภัยอย่างเป็นมาตรฐาน เจ๋ง หรือ จ๋อย ก็ต้อง คอยระวังเอง!!!...
ความรู้เบื้องต้นเพื่อพ้นอัคคีภัย
ประชาชนคนไทยทั้งผู้ใหญ่และเด็กควรรู้และปฏิบัติตามข้อแนะนําา ดังต่อไปน้ี ไม้ขีดห้ามเล่น ใช้เป็นเคร่ืองไฟฟ้า เตรียมท่าไว้หนี ฝึกดีจึง ปลอดภัย หนีไฟต้องตรวจสอบ คลานหมอบใต้ควัน บอกกันให้ทั่ว รวม ตัวจุดหมาย ดับไฟท่วมตัว อย่ากลัวเม่ือติดกับ
1. ไม้ขีดห้ามเล่น
เด็กๆ ทั้งหลายจงจําาไว้ว่า ไม้ขีดและ
ไฟแช็ก เป็นเคร่ืองมือสําาหรับผู้ใหญ่ เด็กๆ ไม่มีหน้าที่ใช้ ถ้าพบเห็นเพื่อนๆ กําาลังนําามา เล่นให้รีบบอกผู้ใหญ่ และผู้ใหญ่ควรเก็บไม้
ขีด ไฟแช็ก ไว้ในท่ีลับตา (เก็บในกล่องโลหะมีฝาปิด)
2. ใช้เป็นเคร่ืองไฟฟ้า
ควรแนะนําาวิธีใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าอย่าง ถูกวิธี และปลอดภัยให้กับสมาชิกในบ้าน และถ้าเห็นอุปกรณ์ไฟฟ้า มีควันลอยออกมา หรือมีกลิ่นไหม้ ให้รีบถอดปลั๊ก แล้วส่งซ่อม ควร “ปิดเคร่ืองใช้ไฟฟ้าทุกครั้งท่ีเลิกใช้”
3. เตรียมท่าหนีไว้
ไม่ว่าอยู่ท่ีไหน ไปท่ีใด ให้เตรียมทาง หนีไว้อย่างน้อย 2 ทาง หรือเตรียมอุปกรณ์ ช่วยชีวิต ดูให้แน่ใจว่าทางหนีใช้ได้ปลอดภัย
4. ฝึกดีจึงปลอดภัย
              12
ISSUE4.VOLUME20.FEBRUARY-APRIL2014
                       ษ
ส
ศ
เ
ิ
พ
ก
ู๊
ป
















































   3   4   5   6   7