Page 6 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 6

                            ต้องมีแผนรองรับเหตุไฟไหม้ ทั้งที่ บ้านและที่ทําางาน แล้วจัดการฝึกซ้อมทุก 6 เดือน ในแผนควรมีขั้นตอน คือ พบเหตุ- แจ้งเหตุ-ระงับเหตุ-หนีเหตุ
5. หนีไฟต้องตรวจสอบ
อยู่ในอาคารที่มีไฟไหม้ จะเปิดประตู ต้องระวัง ก่อนออกจากห้อง ให้น่ังชันเข่า ให้มั่นคง หลังประตู แล้วใช้หลังมือแตะที่ ลูกบิดประตู ถ้ามีความร้อนสูง อย่าเปิดโดย เด็ดขาด แต่หากไม่ร้อนผิดปกติให้ ค่อยๆ เปิดออกช้าๆ โดยใช้ไหล่คอยหนุนประตูไว้
“อย่าลืมเอากุญแจห้องไปด้วย”
หากออกไปพบควันและความร้อนรุนแรง ให้กลับมาท่ีห้อง
6. คลานหมอบใต้ควัน
ควันมีพิษและอันตราย ให้หมอบคลาน
ต่ําาเมื่อพบหมอกควัน โดยก้มศีรษะสูงจาก
พ้ืนไม่เกิน 1 ฟุต รีบมุ่งหน้าไปทางหนีไฟ
หรือที่ปลอดภัยโดยเร็ว ควรเตรียมถุงใส่
ครอบหัว Emergency bag ไว้จะปลอดภัยกว่า เพราะการคลานตํา่า จะ
ให้ชุบนํา้า) เปิดหน้าต่างส่งสัญญาณด้วยผ้าโบกเรียกคนให้ช่วย (ถ้ามี โทรศัพท์ ให้เรียกคนใกล้ที่สุด) ถ้ามีอุปกรณ์ช่วยชีวิต เช่น “รอกหนีไฟ” (Fire Escape Device) ให้นําามาใช้โดยไม่ต้องรอ (ในกรณีอยู่อาคาร สูง)
เทคนิคการกู้ภัย
การช่วยเหลือผู้ประสบภัย
ผู้ประสบภัยที่ตกอยู่ในภยันตรายท่ามกลางกลุ่มควัน ก๊าซพิษ และความร้อน จะต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างฉับพลันทันที จากเจ้า หน้าที่ผู้ได้รับการฝึกฝนมาโดยเฉพาะ ก่อนลงมือปฏิบัติการอ่ืนๆ
ลําาดับของผู้ที่จะได้รับการช่วยเหลือก่อน คือ “ผู้ท่ีอยู่ท่ามกลาง ภยันตรายมากที่สุด” และลดหลั่นกันลงไป บางครั้งอาจช่วยเหลือผู้ ประสบภัยจากจุดที่มีอันตรายมาก มาไว้ยังที่ๆ มีอันตรายน้อยเสียก่อน ก็ได้
การค้นหาผู้ประสบภัยที่ติดค้างอยู่ ผู้ประสบถัยบางคนอาจติด ค้างอยู่ในที่เกิดเหตุและยังมีชีวิตอยู่ บางคนอาจสลบเพราะสําาลักก๊าซ พิษ และควันไฟ หรือขาดอากาศ บางคนอาจหลงทางเข้าไปติดค้างอยู่ ตามจุดอับภายในอาคาร ด้วยเหตุนี้ ผู้ท่ีเข้าค้นหาผู้ประสบภัย จะต้อง ค้นหาให้ท่ัวถึง ตามที่ต่างๆ เช่น ห้องน้ําา ใต้เตียงนอน หรือมุมซ่อนเร้น
ทางซ่ึงบอกว่าเป็น “ทางออกฉุกเฉิน” แต่อาจเป็นทางตัน ทั้งน้ี โดยสังเกตจากทิศทางแห่งการติดต่อลุกลามของไฟ
ในการค้นหาผู้ประสบภัยน้ัน ผู้ปฏิบัติจะต้องมีเครื่องมือเคร่ือง ใช้พร้อม และจะต้องปฏิบัติการเป็นหมู่คณะ (อย่างน้อย 3 คน เข้าที่เกิด เหตุ 2 คน อีก 1 คนอยู่คอยประสานงาน และพร้อมให้การช่วยเหลืออยู่ บริเวณทางเข้า) ใช้หลังมือเปล่าซึ่งมีสัมผัสท่ีไวแตะสําารวจผนังอาคาร และสืบเท้าเดินไปรอบๆ เม่ือค้นหารอบๆ ห้องไม่พบจึงมุ่งตรงไปยัง บริเวณกลางห้อง และบริเวณท่ีตั้งโต๊ะ เตียง ซ่ึงคาดว่าผู้ประสบภัยอาจ ไปซุกตัวอยู่
อุปกรณ์สําาคัญที่ผู้ค้นหาต้องมี
 หนา้ กากกนั ควนั พษิ แบบมถี งั อดั อากาศ SCBA : Self Contained Breathing Apparatus
       ไม่สามารถทําาได้จากช้ันบนลงชั้นล่างที่มีควัน ไม่เห็น
7. บอกกันให้ท่ัว
และควันทําาให้แสบตามอง
 พบเหตุเพลิงไหม้ให้แจ้งเหตุ โดย ตะโกนบอกด้วยเสียงอันดัง “ไฟไหม้!ๆๆ”
บอกด้วยว่าไหม้ที่ไหน แล้วรีบหนี (ปล่อยให้ ผู้ที่ฝึกการใช้เครื่องดับเพลิงมาแล้วทําาการ
ระงับเหตุ) ห้ามตะโกนร้อง “ไฟไหม้” เม่ือไม่มีเหตุจริงเป็นอันขาด!
8. รวมตัวจุดหมาย
ต้องมีจุดนัดพบ (จุดรวมพล) ใกล้ สถานท่ีพักอาศัยหรือที่ทําางาน เมื่อเกิดเหตุ จะได้ไปรวมตัวกันตามที่นัดหมายไว้แล้ว ตรวจสอบจําานวนคน เพ่ือหาผู้ที่ติดค้างใน อาคาร อย่ากลับเข้าอาคารอีก
9. ดับไฟท่วมตัว
หยุด-ทรุด-แล้วกล้ิง....ถ้าไฟไหม้เส้ือผ้า หรือตัว อย่าว่ิง...ให้หยุด! แล้วทรุดกายลง กลิ้งทับไฟ พร้อมเอามือปิดหน้า
10. อย่ากลัวเม่ือติดกับ
ถ้าติดอยู่ในวงล้อมของไฟให้ปิดประตู ให้สนิท อย่ากลัวเมื่อติดกับ หาผ้าอุดตาม รูท่ีควันจะเข้า เช่น ช่องใต้ประตู (ถ้ามีน้ําา
ISSUE4.VOLUME20.FEBRUARY-APRIL2014
13
                          ษ
ส
ศ
เ
ิ
พ
ก
ู๊
ป

























































   4   5   6   7   8