Page 8 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 8
สรุป ข้อควรปฏิบัติความปลอดภัยการกู้ภัย ในอาคาร
สวมชุดผจญเพลิงและ SCBA ให้เรียบร้อย
อุปกรณ์ประจําาตัว ไฟฉาย วิทยุส่ือสาร ขวาน เชือก
ทําางานด้วยความระมัดระวัง ตามกฎ ตามขั้นตอน
ทําางานเป็นทีม ภายใต้สายการบังคับบัญชาอย่างใกล้ชิดเคร่ง
1. อันตรายที่สุด
2. มีจําานวนผู้ประสบภัยหลายคน
3. อยู่ในอาคารเดียวกับเพลิงไหม้
4. เป็นพื้นท่ีท่ีอาจจะมีอันตราย การต่อสายส่งนํา้าท่อนํา้าดับเพลิงที่อยู่ในอาคาร(หรือจากรถดับ
เพลิง) เข้าที่ท่อรับนํา้าของอาคารโดยต่อเข้าที่หัวต่อใต้ชั้นที่เกิดเพลิงไหม้ แล้วจึงเดินสายส่งน้ําาข้ึนสู่ช้ันท่ีมีเพลิงไหม้ ส่วนสายที่เหลือจะต่อเตรียม
ครัด
หลีกเล่ียงการสูดดม ควันไฟและความร้อนเข้าสู่ระบบหายใจ
สําารวจเพื่อนร่วมทีมและเชื่อฟังศูนย์ส่ังการ
ประเมินสถานการณ์และวิเคราะห์ภยันตรายว่าอาจะต้อง ไว้ด้านล่างเพื่อที่จะสามารถใช้งานในเชิงรุกได้ทันท่วงทีเมื่อต้องการ
เผชิญกับอันตรายอะไรบ้าง
ทําาตามข้ันตอนการปฎิบัติการให้ถูกต้องและ
ใกล้เคียงแผนมากที่สุด
จําาไว้ว่าอากาศร้อน 150 องศาเซียลเซียส ทําาให้
ปอดสุก
ระบายอากาศให้เร็วที่สุด และบ่อยครั้งเท่าที่ทําา
ได้
ใช้สายดับเพลิงที่มีขนาด ความยาวท่ีเพียงพอ
ห้ามเข้าไปในพื้นท่ีอันตรายเกินกว่าเวลาของ
ท่ออากาศหายใจ (SCBA) เมื่อมีสัญญาณเตือน
ให้ออกสู่ที่ปลอดภัยทันที
จะต้องเตรียมช่อทางหนีตลอดเวลา (สายดับ
★ บางครั้งการเข้าดับเพลิงจากสองทิศทางพร้อมๆ กัน อาจจะไม่ใช่วิธีที่ดีที่สุด เพราะควัน และเปลวไฟอาจจะก่อให้เกิดอันตรายกับอีกทีมหนึ่ง
การพิจารณาความเร่งด่วนในการช่วยชีวิตและ การดับเพลิง
เพลงิ -เชอื กชว่ ยชีวิต)
อุปกรณ์ช่วยให้มีแสงสว่าง (ไฟฉาย)
หากไมม่ น่ั ใจ เกนิ กาํา ลงั ความสามารถใหต้ ดิ ตอ่ ขอความชว่ ยเหลอื
จะต้องรู้ว่าอยู่ที่จุดใด ของการปฎิบัติงานเสมอ
สําารวจ วิเคราะห์ ฟัง ดูอาการความเสียหายของอาคารว่าแตก
อุปกรณ์ประจําาทีมดับเพลิง เมื่อต้องเข้าทําางาน ในอาคาร ทีมดับเพลิงควรทราบเทคนิคเบ้ืองต้นและอุปกรณ์ท่ีต้องใช้ในขณะ
ท่ีจะเข้าทําางานในอาคาร
1. สายส่งนํา้าดับเพลิง อย่างน้อย 3 เส้นๆ ละ 20 เมตร หัวฉีด ขวาน
ดับเพลิง ไฟฉาย เชือก เครื่องช่วยหายใจแบบมีถังอัดอากาศ(SCBA) วิทยุส่ือสาร ชุดติดต่อส่ือสาร
จากทุกๆ ชั้น
2. ไม่ควรใช้ลิฟท์ไปยัง ชั้นท่ีมีเพลิงไหม้
3. ทราบจุดหมายที่จะ ไปและเข้าใจในสถานการณ์ และแผนอย่างดี
ร้าว ใกล้พังทลาย หรือไม่
ช่วยเหลือ สนับสนุน การบริการฟื้นฟูสภาพร่างกาย จิตใจ เจ้า
หน้าท่ีผู้ปฎิบัติงาน อย่างทั่วถึง
ต้องพร้อมต่อทุกๆ สถานการณ์ตลอดเวลา
ISSUE4.VOLUME20.FEBRUARY-APRIL2014
15
ษ
ส
ศ
เ
ิ
พ
ก
ู๊
ป