Page 7 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 7
ชุดผจญเพลิง หมวก เสื้อ ถุงมือ กางเกง รองเท้า
ไฟฉาย ความส่วางสูง (ติดหมวกหรือร่างกายได้)
เชือกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว (Rescue Rope)
อยา่ งไรกด็ ี อยา่ ลมื วา่ การเขา้ ไปคน้ หานน้ั จะตอ้ งใชว้ ธิ รี ะบายอากาศ
ช่วยด้วย (PPV) Positive Ventilation
เทคนิคและวิธีการ
1. กรเข้ค้นหผู้ประสบภัย
1.1 การเลือกทางเข้าอาคาร
ให้ใช้ประตูที่เป็นทางเข้า-ออกเป็นประจําาก่อนเสมอ
การเข้าไปในห้องที่มีควัน
- ย่อหรือก้มตัวให้ตํา่า
- จบั ลกู บดิ ดนั หรอื เปดิ ออกชา้ ๆ เพอ่ื ปอ้ งกนั เปลวไฟแลบ
- สวมใสห่ นา้ กากกนั ควนั พษิ แบบมถี งั อดั อากาศ (BA.) ตลอด
เวลาท่ีอยู่ในบริเวณมีควัน
- ระวังอุปกรณ์และสายไฟฟ้าใช้หลังมือสัมผัส (หากใช้
หน้ามือ ถ้ามีกระแสไฟฟ้า มือจะกําาติดมือ)
1.2 การค้นหาบุคคลที่ประสบภัย
ใช้ผ้าหนาๆ หรือผ้าห่มคลุมร่างกายผู้ประสบภัย ดับเปลวไฟ พยายามดับไฟ โดยใช้นํา้าหรือซีโอทู และ
- ปลดเครือคลุมศีรษะออกทันที
- ใช้วิธีกลิ้งตัวไปรอบๆ บนพื้น พยายามอย่าให้ผู้ประสบ ภัยวิ่งหรือยืน (Stop Drop and Roll)
2.2 การลําาเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินจากที่สูง
ใช้รอกหนีไฟ (หาความรู้ได้จาก www.fire4fara.com)
ฉีกผ้าปูท่ีนอน ผ้าม่าน หรือเสื้อผ้าต่อกันแล้วผูกเป็นเงื่อน บ่วงรอบใต้แขนผู้ประสบภัย หย่อนลงมา เมื่อหาเชือกไม่ได้
นําาผู้ประสบภัยแบกพาดบ่าพาลงมาช้ันล่าง ถ้าผู้ประสบภัยหมดสติ
- จัดท่านอนหงายใช้มือช้อนคอผู้ประสบภัยโดยดึงคอเสื้อ บริเวณด้านหลัง แล้วลากถอยหลัง หรือ จะดึงบริเวณปลายเท้าก็ได้ โดยจับมือของผู้ประสบภัยท้ัง 2 ข้างขึ้นไปวางไว้ด้านบน ผู้ช่วยเหลือจับ ท่ีข้อเท้า แล้วลากถอยหลัง (ท่าดึงหนีบนพ้ืนเรียบ)
- ใช้ผ้าผูกข้อมือทั้ง 2 ข้าง นั่งคร่อมให้ข้อมือของประสบ ภัยคล้องรอบคอตัวเรา แล้วคลานออกมา (ท่าเสือคาบเหยื่อ)
- ใช้เปลผ้าใบSoftStretcherนําาออกมา
2.3 การหาทางออกฉุกเฉิน
เจ้าหน้าท่ีและผู้ช่วยเหลือจะต้องคุ้นเคยกับสถานท่ี
ท่อทาง รางน้ําา แป๊บ เฉลียง หน้าต่าง ใช้เป็นท่ีหมายทางลง ฉุกเฉินได้ (สอบถามจากเจ้าของพื้นท่ีให้ชัดเจน)
เชือก รอก สําาหรับยกสรรพสิ่งของ
เสอ้ื ผา้ ผา้ หม่ และเศษผา้ เหนยี วๆ ฉกี ผกู ตอ่ กนั สาํา หรบั หยอ่ น ตัวลงได้
ใช้ทางลงฉุกเฉิน ถ้ามี
การลงบนัไดในหอ้งทอ่ีงไมเ่หน็ทางใหใ้ชว้ธิถีอยหลงัเทา้แตะ นําาทาง
เสมอ
ค้นจากชั้นบน-ล่างของอาคาร ค้นรอบๆ ห้องที่สงสัยมีคนถูกกักขัง
- สัมผัสฝาผนังรอบๆ ห้อง แล้วเดินตัดมุมห้อง
- ใช้สาวยช่วยชีวิต (เชือก) เป็นอาณัติสัญญาณติดต่อภาย
นอก
ควรคน้ หาเดก็ และสตรบี รเิ วณใตเ้ ตยี ง, ต,ู้ โตะ๊ , หอ้ งนา้ํา ฯลฯ ทางข้ึน-ลง และบันได ควรใช้ทางที่ชิดกับผนังที่แข็งแรง
พ้ืนห้องต้องทดลองยันหรือเหยียบเบาๆ ก่อน โดยเฉพาะพื้น ส่วนกลางของห้อง
2. กรช่วยชีวิตบุคคลท่ีติดอยู่ในบริเวณอันตรย
2.1 ผู้ประสบภัยมีเสื้อผ้าติดไฟ
อาคารหลังอื่นๆ ท่ีต่อเน่ือง อาจจะใช้เป็นทางผ่านได้
★ แนวทางการค้นหาผู้ประสบภัยท่ีอาจติดอยู่ในอาคาร (ดูที่เส้นประ-----)
14
ถ้าหลงอยู่ในห้องที่มีควัน พยายามอยู่ชิดผนังห้อง ทําาตัวตํา่าที่สุด ฟังเสียง แล้วค่อยๆ สืบเท้าหาทางออก
2.4 ผู้รับบาดเจ็บถูกไฟฟ้าดูด
อยา่ ใหร้ า่ งกายของเราถกู ตอ้ งตวั ผปู้ ระสบภยั หรอื วตั ถทุ เ่ี ปน็ สื่อไฟฟ้า
หาทางตัดสวิตช์ไฟฟ้าทันที
ผชู้ ว่ ยเหลอื จะตอ้ งหาวตั ถทุ เ่ี ปน็ ฉนวนไฟฟา้ ปพู น้ื เชน่ กระดาษ ไม้ กระดาน ผ้าแห้ง หรือเปลผ้าใบ Soft Stretcher
ใช้ไม้แห้งหรือวุตถุที่ไม่ใช่สื่อไฟฟ้า เขี่ยสายไฟออกจากตัวผู้ ประสบภัย ตรงส่วนที่ร่างกายถูกไฟฟ้าดูด
เมื่อนําาผู้ประสบภัยออกมาพ้นบริเวณแล้ว ให้ทําาการปฐม พยาบาล (และ CPR ถ้าจําาเป็น) จนกว่าจะถึงมือแพทย์
ISSUE4.VOLUME20.FEBRUARY-APRIL2014
ษ
ส
ศ
เ
ิ
พ
ก
ู๊
ป